(Translated by https://www.hiragana.jp/)
ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะเคียนชันตาแมว" - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะเคียนชันตาแมว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
HRoestBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: fr:Neobalanocarpus heimii
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.6
 
(ไม่แสดง 8 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 7 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{taxobox
{{taxobox
|image = 1500 year old Chengal tree.jpg
|image_caption = ตะเคียนชันตาแมวอายุ 1,500 ปี ที่มาเลเซีย
|status = VU
|status = VU
|status_system = IUCN2.3
|status_system = IUCN2.3
บรรทัด 8: บรรทัด 10:
|ordo = [[Malvales]]
|ordo = [[Malvales]]
|familia = [[Dipterocarpaceae]]
|familia = [[Dipterocarpaceae]]
|genus = ''[[Neobalanocarpus]]''
|genus = '''''Neobalanocarpus'''''
|genus_authority = [[P.S. Ashton]]
|species = '''''N. heimii'''''
|species = '''''N. heimii'''''
|binomial = ''Neobalanocarpus heimii''
|binomial = ''Neobalanocarpus heimii''
|binomial_authority = (King) P. Ashton
|binomial_authority = (King) P. Ashton
|}}
|}}
'''ตะเคียนชันตาแมว''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Neobalanocarpus heimii ( King) P.S.Ashton}} จัดอยู่ในวงศ์ DIPTEROCARPACEAE) เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานปลูกเป็นมงคลประจำ[[จังหวัดนราธิวาส]]<ref>http://www.komchadluek.net/detail/20111214/117596/ตะเคียนชันตาแมวเนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง.html</ref> ลักษณะของตะเคียนชันตาแมว เป็นไม้ต้นสูงถึง 40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือบางครั้งแผ่กว้าง ลำต้นตรง เปลือกสีน้ำตาลเข้มแตกตามยาวและล่อนเป็นสะเก็ด ตกชันสีขาวใส เปลือกในสีเหลืองแกมเขียว เนื้อไม้สีเหลืองน้ำตาลแกมเหลืองถึงสีน้ำตาลเข้ม ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 2-4 ซม. ยาว 8-15 ซม. ปลายใบสอบเรียวแหลม โคนใบมนหรือเบี้ยว ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อย เส้นแขนงใบ 9-10 คู่ โค้งจรดขอบใบ ก้านใบยาวประมาณ 1.5 ซ.ม.ดอก ดอกสีขาวนวลถึงสีขาวอมเหลือง ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผล รูปทรงกระบอกโค้ง ปลายแหลม กว้างประมาณ 1.5 ซม. ยาว 5-7 ซม. มีกลีบเลี้ยงรองผล 5 กลีบ ยาวไม่เกินครึ่งหนึ่งของความยาวของตัวผล ประโยชน์ ใช้ในการก่อสร้างได้แข็งแรงทนทาน เช่น ทำเสา รอด ตง ไม้หมอนรถไฟ และใช้ต่อเรือ ชันมีราคาสูง ใช้ผสมน้ำมันทาไม้ และน้ำมันชักเงาอย่างดี
'''ตะเคียนชันตาแมว''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Neobalanocarpus heimii}}) จัดอยู่ใน[[วงศ์ยางนา]] (Dipterocarpaceae) เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานปลูกเป็นมงคลประจำ[[จังหวัดนราธิวาส]]<ref>{{Cite web |url=http://www.komchadluek.net/detail/20111214/117596/%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87.html |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2022-02-28 |archive-date=2011-12-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20111221113747/http://www.komchadluek.net/detail/20111214/117596/%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87.html |url-status=dead }}</ref> ลักษณะของตะเคียนชันตาแมว เป็นไม้ต้นสูงถึง 40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือบางครั้งแผ่กว้าง ลำต้นตรง เปลือกสีน้ำตาลเข้มแตกตามยาวและล่อนเป็นสะเก็ด ตกชันสีขาวใส เปลือกในสีเหลืองแกมเขียว เนื้อไม้สีเหลืองน้ำตาลแกมเหลืองถึงสีน้ำตาลเข้ม ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 2-4 ซม. ยาว 8-15 ซม. ปลายใบสอบเรียวแหลม โคนใบมนหรือเบี้ยว ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อย เส้นแขนงใบ 9-10 คู่ โค้งจรดขอบใบ ก้านใบยาวประมาณ 1.5 ซ.ม.ดอก ดอกสีขาวนวลถึงสีขาวอมเหลือง ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผล รูปทรงกระบอกโค้ง ปลายแหลม กว้างประมาณ 1.5 ซม. ยาว 5-7 ซม. มีกลีบเลี้ยงรองผล 5 กลีบ ยาวไม่เกินครึ่งหนึ่งของความยาวของตัวผล ประโยชน์ ใช้ในการก่อสร้างได้แข็งแรงทนทาน เช่น ทำเสา รอด ตง ไม้หมอนรถไฟ และใช้ต่อเรือ ชันมีราคาสูง ใช้ผสมน้ำมันทาไม้ และน้ำมันชักเงาอย่างดี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==

{{commons|Category:Neobalanocarpus heimii|''Neobalanocarpus heimii''}}

{{wikispecies-inline|Neobalanocarpus heimii}}
{{ต้นไม้พระราชทาน}}
{{ต้นไม้พระราชทาน}}


[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัดของไทย]]

[[หมวดหมู่:ไม้ยืนต้น]]
[[หมวดหมู่:ไม้ยืนต้น]]
[[หมวดหมู่:วงศ์ยางนา]]
[[หมวดหมู่:ไม้ที่ใช้ในการก่อสร้าง]]


{{โครงพืช}}
{{โครงพืช}}

[[en:Neobalanocarpus heimii]]
[[fr:Neobalanocarpus heimii]]
[[ms:Pokok Cengal]]
[[vi:Neobalanocarpus heimii]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:21, 1 มีนาคม 2565

ตะเคียนชันตาแมว
ตะเคียนชันตาแมวอายุ 1,500 ปี ที่มาเลเซีย
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Malvales
วงศ์: Dipterocarpaceae
สกุล: Neobalanocarpus
P.S. Ashton
สปีชีส์: N.  heimii
ชื่อทวินาม
Neobalanocarpus heimii
(King) P. Ashton

ตะเคียนชันตาแมว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Neobalanocarpus heimii) จัดอยู่ในวงศ์ยางนา (Dipterocarpaceae) เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานปลูกเป็นมงคลประจำจังหวัดนราธิวาส[1] ลักษณะของตะเคียนชันตาแมว เป็นไม้ต้นสูงถึง 40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือบางครั้งแผ่กว้าง ลำต้นตรง เปลือกสีน้ำตาลเข้มแตกตามยาวและล่อนเป็นสะเก็ด ตกชันสีขาวใส เปลือกในสีเหลืองแกมเขียว เนื้อไม้สีเหลืองน้ำตาลแกมเหลืองถึงสีน้ำตาลเข้ม ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 2-4 ซม. ยาว 8-15 ซม. ปลายใบสอบเรียวแหลม โคนใบมนหรือเบี้ยว ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อย เส้นแขนงใบ 9-10 คู่ โค้งจรดขอบใบ ก้านใบยาวประมาณ 1.5 ซ.ม.ดอก ดอกสีขาวนวลถึงสีขาวอมเหลือง ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผล รูปทรงกระบอกโค้ง ปลายแหลม กว้างประมาณ 1.5 ซม. ยาว 5-7 ซม. มีกลีบเลี้ยงรองผล 5 กลีบ ยาวไม่เกินครึ่งหนึ่งของความยาวของตัวผล ประโยชน์ ใช้ในการก่อสร้างได้แข็งแรงทนทาน เช่น ทำเสา รอด ตง ไม้หมอนรถไฟ และใช้ต่อเรือ ชันมีราคาสูง ใช้ผสมน้ำมันทาไม้ และน้ำมันชักเงาอย่างดี

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-12-21. สืบค้นเมื่อ 2022-02-28.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Neobalanocarpus heimii ที่วิกิสปีชีส์