(Translated by https://www.hiragana.jp/)
ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร" - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Sophie von der Pfalz als Indianerin.jpg|thumb|[[โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์]] เป็นผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์ต่อจาก[[สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่|สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์]] แต่ด้วยพระนางโซฟีสิ้นพระชนม์ไปซะก่อน ราชบัลลังก์จึงต้องถูกสืบโดยทายาทของพระนางโซฟี]]
[[ไฟล์:Sophie von der Pfalz als Indianerin.jpg|thumb|[[โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์]] เป็นผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์ต่อจาก[[สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่|สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์]] แต่ด้วยพระนางโซฟีสิ้นพระชนม์ไปซะก่อน ราชบัลลังก์จึงต้องถูกสืบโดยทายาทของพระนางโซฟี]]
'''ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อังกฤษ''' เป็นการจัดเรียงรายพระนามและนามของบุคคลในสายลำดับการสืบราชสมบัติแห่ง[[สหราชอาณาจักร]] การสืบราชสมบัติบัญญัติโดย [[พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701]] (Act of Settlement 1701) จำกัดสิทธิแต่เพียงทายาทของเจ้าหญิง[[โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์]] โดยกำหนดในเรื่องการให้สิทธิบุรุษสืบราชสมบัติก่อนหน้าสตรี การนับถือศาสนา และการถือกำเนิดอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
'''ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร''' เป็นการจัดเรียงรายพระนามและนามของบุคคลในสายลำดับการสืบราชสมบัติแห่ง[[สหราชอาณาจักร]] การสืบราชสมบัติบัญญัติโดย [[พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701]] (Act of Settlement 1701) จำกัดสิทธิแต่เพียงทายาทของเจ้าหญิง[[โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์]] โดยกำหนดในเรื่องการให้สิทธิบุรุษสืบราชสมบัติก่อนหน้าสตรี การนับถือศาสนา และการถือกำเนิดอย่างถูกต้องตามกฎหมาย


จากบทบัญญัติของธรรมนูญเวสมินสเตอร์ ค.ศ. 1931 (Statute of Westminster 1931) ซึ่งกำหนดสถานภาพของความเท่าเทียมทางด้านนิติบัญญัติระหว่างดินแดนต่างๆ ที่ปกครองตนเองของ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]และสหราชอาณาจักร ที่มีข้อยกเว้นส่วนที่เหลือบางประการ สายลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ในแต่ละประเทศของ 15 ประเทศในเครือจักรภพอังกฤษจะแยกออกจากของสหราชอาณาจักรโดยทางกฎหมาย (ยกเว้นว่ารัฐธรรมนูญของประเทศนั้นยึดตามกฎการสืบราชสมบัติต่างๆ ของสหราชอาณาจักร) แม้ว่าทุกประเทศก็ใช้รูปแบบเดียวกัน
จากบทบัญญัติของธรรมนูญเวสมินสเตอร์ ค.ศ. 1931 (Statute of Westminster 1931) ซึ่งกำหนดสถานภาพของความเท่าเทียมทางด้านนิติบัญญัติระหว่างดินแดนต่างๆ ที่ปกครองตนเองของ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]และสหราชอาณาจักร ที่มีข้อยกเว้นส่วนที่เหลือบางประการ สายลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ในแต่ละประเทศของ 15 ประเทศในเครือจักรภพของสหราชอาณาจักรจะแยกออกจากของสหราชอาณาจักรโดยทางกฎหมาย (ยกเว้นว่ารัฐธรรมนูญของประเทศนั้นยึดตามกฎการสืบราชสมบัติต่างๆ ของสหราชอาณาจักร) แม้ว่าทุกประเทศก็ใช้รูปแบบเดียวกัน


นอกเหนือจากการระบุชื่อพระประมุขแห่งอังกฤษคนต่อไปแล้ว ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ยังใช้ในการเลือก[[คณะกรรมการกฤษฎีกา]]อีกด้วย (และรวมถึง[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] เมื่อถึงคราวจำเป็น)
นอกเหนือจากการระบุชื่อพระประมุขแห่งสหราชอาณาจักรคนต่อไปแล้ว ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ยังใช้ในการเลือก[[คณะกรรมการกฤษฎีกา]]อีกด้วย (และรวมถึง[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] เมื่อถึงคราวจำเป็น)


== การมีสิทธิ ==
== การมีสิทธิ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:34, 14 มกราคม 2567

โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ เป็นผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์ต่อจากสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ แต่ด้วยพระนางโซฟีสิ้นพระชนม์ไปซะก่อน ราชบัลลังก์จึงต้องถูกสืบโดยทายาทของพระนางโซฟี

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร เป็นการจัดเรียงรายพระนามและนามของบุคคลในสายลำดับการสืบราชสมบัติแห่งสหราชอาณาจักร การสืบราชสมบัติบัญญัติโดย พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 (Act of Settlement 1701) จำกัดสิทธิแต่เพียงทายาทของเจ้าหญิงโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ โดยกำหนดในเรื่องการให้สิทธิบุรุษสืบราชสมบัติก่อนหน้าสตรี การนับถือศาสนา และการถือกำเนิดอย่างถูกต้องตามกฎหมาย

จากบทบัญญัติของธรรมนูญเวสมินสเตอร์ ค.ศ. 1931 (Statute of Westminster 1931) ซึ่งกำหนดสถานภาพของความเท่าเทียมทางด้านนิติบัญญัติระหว่างดินแดนต่างๆ ที่ปกครองตนเองของจักรวรรดิอังกฤษและสหราชอาณาจักร ที่มีข้อยกเว้นส่วนที่เหลือบางประการ สายลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ในแต่ละประเทศของ 15 ประเทศในเครือจักรภพของสหราชอาณาจักรจะแยกออกจากของสหราชอาณาจักรโดยทางกฎหมาย (ยกเว้นว่ารัฐธรรมนูญของประเทศนั้นยึดตามกฎการสืบราชสมบัติต่างๆ ของสหราชอาณาจักร) แม้ว่าทุกประเทศก็ใช้รูปแบบเดียวกัน

นอกเหนือจากการระบุชื่อพระประมุขแห่งสหราชอาณาจักรคนต่อไปแล้ว ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ยังใช้ในการเลือกคณะกรรมการกฤษฎีกาอีกด้วย (และรวมถึงผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เมื่อถึงคราวจำเป็น)

การมีสิทธิ

สิทธิสืบราชสันตติวงศ์นั้นเป็นไปตามพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701, พระราชบัญญัติการสมรสพระราชวงศ์ ค.ศ. 1772 (Royal Marriages Act 1772) และหลักกฎหมายในระบบคอมมอนลอว์ ซึ่งจัดลำดับราชสันตติวงศ์ไว้ตามสิทธิของบุตรหัวปี สถานะของมารดา และเน้นความเป็นบุรุษเพศ

บุคคลไม่ว่าชายหรือหญิงจะอยู่ในลำดับราชสันตติวงศ์ต่อเมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขดังนี้ทุกประการ

  • บุคคลนั้นเป็นผู้สืบสันดานโดยชอบด้วยกฎหมายของโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ แต่ไม่รวมถึงบุคคลที่รับรองให้เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายในภายหลัง
  • บุคคลนั้นไม่เคยถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และไม่เคยสมรสกับชาวคริสต์นิกายดังกล่าว

ณ เวลาเสวยราชย์ ทายาทผู้นั้นต้องเข้าเป็นสมาชิกคริสตจักรอังกฤษ

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์

หกลำดับแรก
ณ วันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2022
1. เจ้าชายแห่งเวลส์
2. เจ้าชายจอร์จ
3. เจ้าหญิงชาร์ลอตต์
4. เจ้าชายหลุยส์
5. ดยุกแห่งซัสเซกซ์
6. เจ้าชายอาร์ชี

ในปัจจุบัน บทความนี้พยายามจัดเรียงพระนามของเชื้อสายที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งหมดในเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ (พระปนัดดาในเจ้าหญิงโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์) ซึ่งอยู่ในลำดับของการสืบราชสมบัติ รวมถึงเชื้อสายของเจ้าหญิงแอนน์ พระขนิษฐาในเจ้าชายเฟรเดอริก เชื้อสายที่ยังมีชีวิตอยู่และไม่ได้อยู่ในสายลำดับการสืบราชสมบัติจะเขียนไว้เป็นตัวเอียงเพราะถือได้ว่าถูกข้ามลำดับไปแล้ว

เจ็ดลำดับแรกของลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ไม่เคยมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นเวลา 23 ปีแล้ว นับตั้งแต่การประสูติของเจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์ก เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1990 จนกระทั่งล่าสุด เมื่อ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2019 การเกิดของ อาร์ชี เมานต์แบ็ตเทน-วินด์เซอร์ พระโอรสคนแรกในเจ้าชายแฮร์รี ดยุกแห่งซัสเซกซ์ ซึ่งอยู่ในลำดับที่ 7 ของการสืบราชสมบัติ

รายชื่อบุคคลในลำดับการสืบราชสมบัติจะแบ่งแยกโดยคำอธิบายตัวหนาที่แสดงว่าบุคคลในกรอบด้านล่างนี้สืบเชื้อสายมาจากเจ้าหญิงโซฟีอย่างไร

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ปัจจุบัน

อ้างอิง

  • Eilers, Marlene A., Queen Victoria’s Descendants, Rosvall Royal Books, Falköping, 1997, 2nd Edition.
  • Eilers, Marlene A., Queen Victoria’s Descendants: Companion Volume, Rosvall Royal Books, Falköping, 2004.