(Translated by https://www.hiragana.jp/)
ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัลเลศวรี" - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัลเลศวรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}
'''ลัลเลศวรี''' ([[อักษรโรมัน]]: Lalleshwari) หรือชื่อพื้นถิ่น '''ลัลดยัด''' ({{IPA-ks|laːl dʲad}}, Lal Ded; ค.ศ. 1320–1392) เป็น[[รหัสยลัทธิ|รหัสยะ]][[ชาวกัศมีร์]] สำนัก[[ปรัชญาฮินดู]]สาย[[Kashmir Shaivism|ไศวะกัศมีร์]]<ref name="MGChitkara2002">{{cite book | author=M. G. Chitkara | title=Kashmir Shaivism: Under Siege | url=https://books.google.com/books?id=5CK0DFijayQC&pg=PR14 | date=1 January 2002 | publisher=APH Publishing | isbn=978-81-7648-360-5 | pages=14–}}</ref><ref name="Kaul 2020">{{cite news |last1=Kaul |first1=Shonaleeka |title=Remembering Lal Ded, the Kashmiri Yogini |url=https://www.newindianexpress.com/opinions/2020/oct/16/remembering-lal-ded-the-kashmiri-yogini-2210887.html |access-date=18 September 2021 |work=[[The New Indian Express]] |date=October 16, 2020}}</ref> เธอเป็นผู้ริเริ่มรูปแบบกวีนิพนธ์รหัสยะที่เรียกว่า[[vatsun|วาตสูน]] หรือ ''วขฺ'' (Vakh) (จากสันสกฤต ''วกฺ'') งานกวีนิพนธ์ของเธอเรียกว่า ลัลวัข (Lal Vakh) และเป็นงานเขียนชิ้นเก่าแก่ที่สุดของ[[ภาษากัศมีร์]] และเป็นส่วนสำคัญในประวัติศาสตร์ของ[[Kashmiri literature|วรรกรรมภาษากัศมีร์]]ในปัจจุบัน<ref>[http://www.koausa.org/Music/LalVakh/index.html Lal Vakh online] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080511233728/http://koausa.org/Music/LalVakh/index.html |date=11 May 2008 }}</ref><ref name=lal>[http://www.koausa.org/Saints/LalDed/article7.html Lal Ded's Vakhs]</ref> ผลงานและเรื่องราวชีวิตของเธอถูกนำมาใช้เพื่อประโยชน์แอบแฝงทางศาสนาและการเมืองเรื่อยมา [[Ranjit Hoskote|รณชีต โฮสโกเต]] เคยระบุว่า<ref name=":0">I, Lalla: The Poems of Lal Ded, translated by Ranjit Hoskote with an Introduction and Notes, Penguin Classics, 2011, p. xiv {{ISBN|978-0-670-08447-0}}.</ref> "สำหรับโลกภายนอกแล้ว ลัลไดดเป็นบุคคลในวงการวรรณกรรมและจิตวิญญาณที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากกัศมีร์; ในกัศมีร์เอง เธอก็เป็นที่เคารพบูชาจากทั้งชาวฮินดูและมัสลิมมานานนับเจ็ดศตวรรษ [...] ที่ซึ่งเธอไม่ถูกนำมาใช้เป็นของศาสนาใดศาสนาหนึ่งโดยเอกเทศ แต่นับตั้งแต่ทศวรรษ 1980s เป็นต้นมา ภายใต้ความขัดแย้งยาวนานและการเมืองในกัศมีร์ [...] เธอกลายเป็นลัลเลศวรีหรือลัลลโยคินีสำหรับชาวฮินดู และลัลอารีฟะสำหรับชาวมุสลิม เป็นที่น่าเศร้าใจมากที่ในทุกวันนี้ การอธิบายเกี่ยวกับเธอจะต้องเป็นแบบฝั่งใดฝั่งหนึ่ง โดยที่ต้องกดทับคำอธิบายของอีกฝั่งไว้ มากขึ้นอีกเรื่อย ๆ"
'''ลัลเลศวรี''' ([[อักษรโรมัน]]: Lalleshwari) หรือชื่อพื้นถิ่น '''ลาล ดยัด''' ({{IPA-ks|laːl dʲad}}, Lal Ded; ค.ศ. 1320–1392) เป็น[[รหัสยลัทธิ|รหัสยะ]][[ชาวกัศมีร์]] สำนัก[[ปรัชญาฮินดู]]สาย[[Kashmir Shaivism|ไศวะกัศมีร์]]<ref name="MGChitkara2002">{{cite book | author=M. G. Chitkara | title=Kashmir Shaivism: Under Siege | url=https://books.google.com/books?id=5CK0DFijayQC&pg=PR14 | date=1 January 2002 | publisher=APH Publishing | isbn=978-81-7648-360-5 | pages=14–}}</ref><ref name="Kaul 2020">{{cite news |last1=Kaul |first1=Shonaleeka |title=Remembering Lal Ded, the Kashmiri Yogini |url=https://www.newindianexpress.com/opinions/2020/oct/16/remembering-lal-ded-the-kashmiri-yogini-2210887.html |access-date=18 September 2021 |work=[[The New Indian Express]] |date=October 16, 2020}}</ref> เธอเป็นผู้ริเริ่มรูปแบบกวีนิพนธ์รหัสยะที่เรียกว่า[[vatsun|วาตสูน]] หรือ ''วขฺ'' (Vakh) (จากสันสกฤต ''วกฺ'') งานกวีนิพนธ์ของเธอเรียกว่า ลัลวัข (Lal Vakh) และเป็นงานเขียนชิ้นเก่าแก่ที่สุดของ[[ภาษากัศมีร์]] และเป็นส่วนสำคัญในประวัติศาสตร์ของ[[Kashmiri literature|วรรกรรมภาษากัศมีร์]]ในปัจจุบัน<ref>[http://www.koausa.org/Music/LalVakh/index.html Lal Vakh online] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080511233728/http://koausa.org/Music/LalVakh/index.html |date=11 May 2008 }}</ref><ref name=lal>[http://www.koausa.org/Saints/LalDed/article7.html Lal Ded's Vakhs]</ref> ผลงานและเรื่องราวชีวิตของเธอถูกนำมาใช้เพื่อประโยชน์แอบแฝงทางศาสนาและการเมืองเรื่อยมา [[Ranjit Hoskote|รณชีต โฮสโกเต]] เคยระบุว่า<ref name=":0">I, Lalla: The Poems of Lal Ded, translated by Ranjit Hoskote with an Introduction and Notes, Penguin Classics, 2011, p. xiv {{ISBN|978-0-670-08447-0}}.</ref> "สำหรับโลกภายนอกแล้ว ลัลไดดเป็นบุคคลในวงการวรรณกรรมและจิตวิญญาณที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากกัศมีร์; ในกัศมีร์เอง เธอก็เป็นที่เคารพบูชาจากทั้งชาวฮินดูและมัสลิมมานานนับเจ็ดศตวรรษ [...] ที่ซึ่งเธอไม่ถูกนำมาใช้เป็นของศาสนาใดศาสนาหนึ่งโดยเอกเทศ แต่นับตั้งแต่ทศวรรษ 1980s เป็นต้นมา ภายใต้ความขัดแย้งยาวนานและการเมืองในกัศมีร์ [...] เธอกลายเป็นลัลเลศวรีหรือลัลลโยคินีสำหรับชาวฮินดู และลัลอารีฟะสำหรับชาวมุสลิม เป็นที่น่าเศร้าใจมากที่ในทุกวันนี้ การอธิบายเกี่ยวกับเธอจะต้องเป็นแบบฝั่งใดฝั่งหนึ่ง โดยที่ต้องกดทับคำอธิบายของอีกฝั่งไว้ มากขึ้นอีกเรื่อย ๆ"


ชื่ออื่นของเธอนอกจาก ลาล ดยัด (Lal Ded; "มารดาลัล" หรือ "มารดาลัลละ") เช่น ลัลไดด (Lal Dyad; ''Dyad'' แปลว่า "ย่า/ยาย"), ลัลละอารีฟะ (Lalla Aarifa), ลัลดิดดี (Lal Diddi), ลัลเลศวรี (Lalleshwari), ลัลลโยคีศวรี หรือ ลัลลโยเคศวรี (Lalla Yogishwari/Yogeshwari) และ ลลิศรี (Lalishri)<ref>{{Cite book|last=Paniker|first=K. Ayyappa|url=https://books.google.com/books?id=KYLpvaKJIMEC&dq=lal+dyad&pg=PA220|title=Medieval Indian Literature: Surveys and selections|date=1997|publisher=Sahitya Akademi|isbn=978-81-260-0365-5|language=en}}</ref><ref name="Temple2003">{{cite book|author=Richard Carnac Temple|title=Word of Lalla the Prophetess|url=https://books.google.com/books?id=Ec1Bv2wW_xkC|date=1 August 2003|publisher=Kessinger Publishing|isbn=978-0-7661-8119-9}}</ref><ref>[http://www.poetry-chaikhana.com/D/DedLal/ Lal Ded] www.poetry-chaikhana.com.</ref><ref>[http://www.radiokashmir.org/lalded/index.html Lal Ded] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080919105514/http://www.radiokashmir.org/lalded/index.html |date=19 September 2008 }} www.radiokashmir.org.</ref>
ชื่ออื่นของเธอนอกจาก ลาล ดยัด (Lal Ded; "มารดาลัล" หรือ "มารดาลัลละ") เช่น ลัลไดด (Lal Dyad; ''Dyad'' แปลว่า "ย่า/ยาย"), ลัลละอารีฟะ (Lalla Aarifa), ลัลดิดดี (Lal Diddi), ลัลเลศวรี (Lalleshwari), ลัลลโยคีศวรี หรือ ลัลลโยเคศวรี (Lalla Yogishwari/Yogeshwari) และ ลลิศรี (Lalishri)<ref>{{Cite book|last=Paniker|first=K. Ayyappa|url=https://books.google.com/books?id=KYLpvaKJIMEC&dq=lal+dyad&pg=PA220|title=Medieval Indian Literature: Surveys and selections|date=1997|publisher=Sahitya Akademi|isbn=978-81-260-0365-5|language=en}}</ref><ref name="Temple2003">{{cite book|author=Richard Carnac Temple|title=Word of Lalla the Prophetess|url=https://books.google.com/books?id=Ec1Bv2wW_xkC|date=1 August 2003|publisher=Kessinger Publishing|isbn=978-0-7661-8119-9}}</ref><ref>[http://www.poetry-chaikhana.com/D/DedLal/ Lal Ded] www.poetry-chaikhana.com.</ref><ref>[http://www.radiokashmir.org/lalded/index.html Lal Ded] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080919105514/http://www.radiokashmir.org/lalded/index.html |date=19 September 2008 }} www.radiokashmir.org.</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:49, 1 เมษายน 2567

ลัลเลศวรี
เกิดค.ศ. 1320
กัศมีร์
(ปัจุบัน ศรีนคร ชัมมูและกัศมีร์ ประเทศอินเดีย)
เสียชีวิต1392
กัศมีร์
ชื่ออื่นลัลละ, ลัลเลศวรี, ลัลอารีฟา
มีชื่อเสียงจากกวีนิพนธ์วาตสูน

ลัลเลศวรี (อักษรโรมัน: Lalleshwari) หรือชื่อพื้นถิ่น ลาล ดยัด (แม่แบบ:IPA-ks, Lal Ded; ค.ศ. 1320–1392) เป็นรหัสยะชาวกัศมีร์ สำนักปรัชญาฮินดูสายไศวะกัศมีร์[1][2] เธอเป็นผู้ริเริ่มรูปแบบกวีนิพนธ์รหัสยะที่เรียกว่าวาตสูน หรือ วขฺ (Vakh) (จากสันสกฤต วกฺ) งานกวีนิพนธ์ของเธอเรียกว่า ลัลวัข (Lal Vakh) และเป็นงานเขียนชิ้นเก่าแก่ที่สุดของภาษากัศมีร์ และเป็นส่วนสำคัญในประวัติศาสตร์ของวรรกรรมภาษากัศมีร์ในปัจจุบัน[3][4] ผลงานและเรื่องราวชีวิตของเธอถูกนำมาใช้เพื่อประโยชน์แอบแฝงทางศาสนาและการเมืองเรื่อยมา รณชีต โฮสโกเต เคยระบุว่า[5] "สำหรับโลกภายนอกแล้ว ลัลไดดเป็นบุคคลในวงการวรรณกรรมและจิตวิญญาณที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากกัศมีร์; ในกัศมีร์เอง เธอก็เป็นที่เคารพบูชาจากทั้งชาวฮินดูและมัสลิมมานานนับเจ็ดศตวรรษ [...] ที่ซึ่งเธอไม่ถูกนำมาใช้เป็นของศาสนาใดศาสนาหนึ่งโดยเอกเทศ แต่นับตั้งแต่ทศวรรษ 1980s เป็นต้นมา ภายใต้ความขัดแย้งยาวนานและการเมืองในกัศมีร์ [...] เธอกลายเป็นลัลเลศวรีหรือลัลลโยคินีสำหรับชาวฮินดู และลัลอารีฟะสำหรับชาวมุสลิม เป็นที่น่าเศร้าใจมากที่ในทุกวันนี้ การอธิบายเกี่ยวกับเธอจะต้องเป็นแบบฝั่งใดฝั่งหนึ่ง โดยที่ต้องกดทับคำอธิบายของอีกฝั่งไว้ มากขึ้นอีกเรื่อย ๆ"

ชื่ออื่นของเธอนอกจาก ลาล ดยัด (Lal Ded; "มารดาลัล" หรือ "มารดาลัลละ") เช่น ลัลไดด (Lal Dyad; Dyad แปลว่า "ย่า/ยาย"), ลัลละอารีฟะ (Lalla Aarifa), ลัลดิดดี (Lal Diddi), ลัลเลศวรี (Lalleshwari), ลัลลโยคีศวรี หรือ ลัลลโยเคศวรี (Lalla Yogishwari/Yogeshwari) และ ลลิศรี (Lalishri)[6][7][8][9]

บทกวีของลัลเลศวรีเป็นหนึ่งในงานเขียนภาษากัศมีร์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ค้นพบ และเขียนโดยใช้ภาษากัศมีร์ที่เริ่มแยกออกมาจากภาษาอวหงส์-ประกฤต (Apabhramsa-prakrit) ในอินเดียเหนือ[10] มีบทกวีรวม 285 บท ที่ระบุว่าเขียนขึ้นโดยลัลเลศวรี[5] งานเขียนของเธอใช้แนวคิดอย่างไศวะแบบกัศมีร์ ที่ซึ่งรู้จักในชื่อตริกา จนถึงปี 1900[11]

หลักฐานลายลักษณ์อักษรชิ้นแรกที่เขียนถึงชีวิตของลัลเลศวรีอยู่ใน Tadhkirat-ul-Arifin (ค.ศ. 1587) โดย Mulla Ali Raina และใน Asrar ul-Akbar (ค.ศ. 1654) โดย Baba Daud Mishkati ซึ่งระบุว่าลัลเศวรีเป็นสันตะรหัสยะ ปรากฏตัวให้รักเดินทางไปตามป่าเขาได้พบเห็น[5] ส่วนใน Tarikh-i-Azami (ค.ศ. 1736) โดย Khwaja Azam Diddamari มีระบุข้อมูลลงรายละเอียดเกี่ยวกับชีวิตของเธอ[5] นอกจากนี้ยังพบเรื่องราวชีวิตของเธอในจดหมายเหตุเปอร์เซีย Waqiati-e-Kashmir (ค.ศ. 1746) ซึ่งระบุว่าเธอมีชื่อเสียงมากในรัชสมัยของสุลต่าน Alau-ud-din (ค.ศ. 1343–54) และเสียชีวิตในรัชสมัยของสุลต่าน Shihab-ud-din (ค.ศ. 1354–73)[12]

อ้างอิง

  1. M. G. Chitkara (1 January 2002). Kashmir Shaivism: Under Siege. APH Publishing. pp. 14–. ISBN 978-81-7648-360-5.
  2. Kaul, Shonaleeka (October 16, 2020). "Remembering Lal Ded, the Kashmiri Yogini". The New Indian Express. สืบค้นเมื่อ 18 September 2021.
  3. Lal Vakh online เก็บถาวร 11 พฤษภาคม 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. Lal Ded's Vakhs
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 I, Lalla: The Poems of Lal Ded, translated by Ranjit Hoskote with an Introduction and Notes, Penguin Classics, 2011, p. xiv ISBN 978-0-670-08447-0.
  6. Paniker, K. Ayyappa (1997). Medieval Indian Literature: Surveys and selections (ภาษาอังกฤษ). Sahitya Akademi. ISBN 978-81-260-0365-5.
  7. Richard Carnac Temple (1 August 2003). Word of Lalla the Prophetess. Kessinger Publishing. ISBN 978-0-7661-8119-9.
  8. Lal Ded www.poetry-chaikhana.com.
  9. Lal Ded เก็บถาวร 19 กันยายน 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน www.radiokashmir.org.
  10. Ded, Lal; Laldyada (2013). I, Lalla: The Poems of Lal Ded (ภาษาอังกฤษ). Penguin. pp. x. ISBN 978-0-14-342078-1.
  11. Toshkhani, S.S. (2002). Lal Ded : the great Kashmiri saint-poetess. New Delhi: A.P.H. Pub. Corp. ISBN 81-7648-381-8.
  12. Laldyada (2007). Mystical Verses of Lallā: A Journey of Self Realization (ภาษาอังกฤษ). Motilal Banarsidass Publishe. p. 4. ISBN 978-81-208-3255-8.

แหล่งข้อมูอื่น