(Translated by https://www.hiragana.jp/)
ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐร่วมประมุข" - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐร่วมประมุข"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: el:Προσωπική ένωση; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
[[อันดอร์รา]]กึ่งรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรและต่อมาสหอำนาจกับ[[ฝรั่งเศส]]มาตั้งแต่ ค.ศ. 1607 (พระมหากษัตริย์และต่อมาประธานาธิบดีฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประมุขของอันดอร์รา ประมุขอีกองค์หนึ่งคือพระสังฆราชของสังฆมณฑลอัวร์เกลล์ของ[[คาเทโลเนีย]]ใน[[สเปน]])
[[อันดอร์รา]]กึ่งรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรและต่อมาสหอำนาจกับ[[ฝรั่งเศส]]มาตั้งแต่ ค.ศ. 1607 (พระมหากษัตริย์และต่อมาประธานาธิบดีฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประมุขของอันดอร์รา ประมุขอีกองค์หนึ่งคือพระสังฆราชของสังฆมณฑลอัวร์เกลล์ของ[[คาเทโลเนีย]]ใน[[สเปน]])


== อารากอน==
== อารากอน ==
* ในปี ค.ศ. 1162 [[สมเด็จพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 1 แห่งอารากอน]]เป็นพระมหากษัตริย์องค์แรกที่ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น “พระมหากษัตริย์แห่งอารากอนและเคานท์แห่งบาร์เซโลนา” ผู้ปกครองดินแดนที่ต่อมาเป็น “[[ราชบัลลังก์อารากอน]]” (Crown of Aragon) ซึ่งไม่ใช่[[ราชอาณาจักรอารากอน]] (Kingdom of Aragon) ต่อมา[[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอารากอน]]ก็ทรงก่อตั้งและเพิ่มเติม[[ราชอาณาจักรบาเล็นเซีย]]เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของราชบัลลังก์อารากอน และต่อมา[[สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ชาร์ลส์แห่งเก้นท์]]หรือสมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 1 แห่งสเปน หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ก็รวมอารากอนและคาสตีลที่เป็น “รัฐร่วมประมุข” ที่ต่อมากลายมาเป็นสเปน
* ในปี ค.ศ. 1162 [[สมเด็จพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 1 แห่งอารากอน]]เป็นพระมหากษัตริย์องค์แรกที่ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น “พระมหากษัตริย์แห่งอารากอนและเคานท์แห่งบาร์เซโลนา” ผู้ปกครองดินแดนที่ต่อมาเป็น “[[ราชบัลลังก์อารากอน]]” (Crown of Aragon) ซึ่งไม่ใช่[[ราชอาณาจักรอารากอน]] (Kingdom of Aragon) ต่อมา[[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอารากอน]]ก็ทรงก่อตั้งและเพิ่มเติม[[ราชอาณาจักรบาเล็นเซีย]]เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของราชบัลลังก์อารากอน และต่อมา[[สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ชาร์ลส์แห่งเก้นท์]]หรือสมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 1 แห่งสเปน หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ก็รวมอารากอนและคาสตีลที่เป็น “รัฐร่วมประมุข” ที่ต่อมากลายมาเป็นสเปน


บรรทัด 27: บรรทัด 27:
* รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับ[[ดัชชีแห่งปรัสเซีย]] ระหว่าง ค.ศ. 1618 เมื่อ[[อัลเบร็คท์ เฟรเดอริค ดยุคแห่งปรัสเซีย]]เสียชีวิตโดยไม่มีรัชทายาทชายและลูกเขย[[โยฮันน์ ซิจิสมุนด์ อีเล็คเตอร์แห่งบรานเดนบวร์ก]]กลายเป็นประมุขของทั้งสองราชอาณาจักร แต่บรานเดนบวร์กและปรัสเซียต่างก็มีรัฐบาลที่เป็นเอกเทศ และที่ตั้งเมืองบริหารอยู่ของราชอาณาจักรอยู่ที่[[เบอร์ลิน]] และ[[เคอนิกสบวร์ก]]ตามลำดับมาจนถึง ค.ศ. 1701 เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าฟรีดิชที่ 1 แห่งปรัสเซีย|สมเด็จพระเจ้าฟรีดิชที่ 1]] ทรงรวมสองรัฐบาลเข้าด้วยกันเป็นรัฐบาลเดียว
* รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับ[[ดัชชีแห่งปรัสเซีย]] ระหว่าง ค.ศ. 1618 เมื่อ[[อัลเบร็คท์ เฟรเดอริค ดยุคแห่งปรัสเซีย]]เสียชีวิตโดยไม่มีรัชทายาทชายและลูกเขย[[โยฮันน์ ซิจิสมุนด์ อีเล็คเตอร์แห่งบรานเดนบวร์ก]]กลายเป็นประมุขของทั้งสองราชอาณาจักร แต่บรานเดนบวร์กและปรัสเซียต่างก็มีรัฐบาลที่เป็นเอกเทศ และที่ตั้งเมืองบริหารอยู่ของราชอาณาจักรอยู่ที่[[เบอร์ลิน]] และ[[เคอนิกสบวร์ก]]ตามลำดับมาจนถึง ค.ศ. 1701 เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าฟรีดิชที่ 1 แห่งปรัสเซีย|สมเด็จพระเจ้าฟรีดิชที่ 1]] ทรงรวมสองรัฐบาลเข้าด้วยกันเป็นรัฐบาลเดียว


== บราซิล==
== บราซิล ==
* รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับ[[โปรตุเกส]]ภายใต้[[สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 แห่งบราซิล]] (สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 4 แห่งโปรตุเกส) เป็น[[สหราชอาณาจักรโปรตุเกส, บราซิล และ อัลการ์เวส]] ตั้งแต่วันที่ [[10 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1826]] จนถึงวันที่ [[28 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1826]] ปีเตอร์ทรงดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าฟ้าหลวงแห่งโปรตุเกส, บราซิล และ อัลการ์เวส และเมื่อพระองค์ทรงประกาศอิสรภาพจากโปรตุเกสในปี [[ค.ศ. 1822]] พระองค์ก็ทรงเป็นพระจักรพรรดิองค์แรก และเมื่อง[[สมเด็จพระเจ้าจอห์นที่ 6 แห่งโปรตุเกส]]พระราชบิดาเสด็จสวรรคตสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ก็ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสด้วยแต่ก็เพียงไม่กี่สัปดาห์ เมื่อทรงสละราชสมบัติให้แก่พระราชธิดา[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งโปรตุเกส|เจ้าหญิงมาเรีย กลอเรีย]]
* รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับ[[โปรตุเกส]]ภายใต้[[สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 แห่งบราซิล]] (สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 4 แห่งโปรตุเกส) เป็น[[สหราชอาณาจักรโปรตุเกส, บราซิล และ อัลการ์เวส]] ตั้งแต่วันที่ [[10 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1826]] จนถึงวันที่ [[28 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1826]] ปีเตอร์ทรงดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าฟ้าหลวงแห่งโปรตุเกส, บราซิล และ อัลการ์เวส และเมื่อพระองค์ทรงประกาศอิสรภาพจากโปรตุเกสในปี [[ค.ศ. 1822]] พระองค์ก็ทรงเป็นพระจักรพรรดิองค์แรก และเมื่อง[[สมเด็จพระเจ้าจอห์นที่ 6 แห่งโปรตุเกส]]พระราชบิดาเสด็จสวรรคตสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ก็ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสด้วยแต่ก็เพียงไม่กี่สัปดาห์ เมื่อทรงสละราชสมบัติให้แก่พระราชธิดา[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งโปรตุเกส|เจ้าหญิงมาเรีย กลอเรีย]]


บรรทัด 109: บรรทัด 109:
* รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับ [[เนเธอร์แลนด์]] ระหว่าง ค.ศ. 1815 จนถึง ค.ศ. 1890
* รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับ [[เนเธอร์แลนด์]] ระหว่าง ค.ศ. 1815 จนถึง ค.ศ. 1890


==นาวาร์==
== นาวาร์ ==
* รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับ[[ฝรั่งเศส]] ระหว่าง ค.ศ. 1589 จนถึง ค.ศ. 1620 เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าอองรีที่ 4 ฝรั่งเศส|อองรีแห่งนาวาร์]]ขึ้นครองราชย์เป็น[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 4 ฝรั่งเศส]] หลังจากนั้นนาวาร์ก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของฝรั่งเศส
* รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับ[[ฝรั่งเศส]] ระหว่าง ค.ศ. 1589 จนถึง ค.ศ. 1620 เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าอองรีที่ 4 ฝรั่งเศส|อองรีแห่งนาวาร์]]ขึ้นครองราชย์เป็น[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 4 ฝรั่งเศส]] หลังจากนั้นนาวาร์ก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของฝรั่งเศส


บรรทัด 171: บรรทัด 171:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[ประวัติศาสตร์ยุโรป]]
* [[ประวัติศาสตร์ยุโรป]]


{{เรียงลำดับ|สหราช}}
{{เรียงลำดับ|สหราช}}

[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ยุโรป]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ยุโรป]]
[[หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง]]
[[หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง]]
บรรทัด 186: บรรทัด 187:
[[da:Personalunion]]
[[da:Personalunion]]
[[de:Personalunion]]
[[de:Personalunion]]
[[el:Προσωπική ένωση]]
[[en:Personal union]]
[[en:Personal union]]
[[eo:Persona unio]]
[[eo:Persona unio]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:11, 18 สิงหาคม 2555

ภาพเขียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย

รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (อังกฤษ: personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง[1][2] สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ”

การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน

“สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์

รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และ แคนาดา[3] ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน[2]

นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคโซเชียลลิสต์แห่งชาติ (National Socialist Party)[4] เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว์

อันดอร์รา

อันดอร์รากึ่งรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรและต่อมาสหอำนาจกับฝรั่งเศสมาตั้งแต่ ค.ศ. 1607 (พระมหากษัตริย์และต่อมาประธานาธิบดีฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประมุขของอันดอร์รา ประมุขอีกองค์หนึ่งคือพระสังฆราชของสังฆมณฑลอัวร์เกลล์ของคาเทโลเนียในสเปน)

อารากอน

โบฮีเมีย

  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับโปแลนด์ระหว่าง ค.ศ. 1003 จนถึง ค.ศ. 1004 (โบฮีเมียยึดครองโดยโปแลนด์)
  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับโปแลนด์ระหว่าง ค.ศ. 1300 จนถึง ค.ศ. 1306 และฮังการีระหว่าง ค.ศ. 1301 จนถึง ค.ศ. 1305 (พระเจ้าเวนสลาสที่ 2 และ พระเจ้าเวนสลาสที่ 3)
  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับลักเซมเบิร์กระหว่าง ค.ศ. 1313 จนถึง ค.ศ. 1378 และระหว่าง ค.ศ. 1383 จนถึง ค.ศ. 1388
  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับฮังการีระหว่าง ค.ศ. 1419 จนถึง ค.ศ. 1439 (ซิจิสมุนด์แห่งลักเซมเบิร์กและพระโอรสเขย) และระหว่าง ค.ศ. 1490 จนถึง ค.ศ. 1526 (ราชวงศ์ยาเจลลอน)
  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับออสเตรียและฮังการีระหว่าง ค.ศ. 1526 จนถึง ค.ศ. 1918 (นอกจากระหว่าง ค.ศ. 1619 จนถึง ค.ศ. 1620)

บรานเดนบวร์ก

บราซิล

อาณาจักรในเครือจักรภพ

  • วลี “รัฐร่วมประมุข” ปรากฏในการโต้เถียงในระยะแรกของการพยายามก่อตั้งเครือจักรภพแห่งชาติ[6] แต่การเข้าเป็นสมาชิกของเครือจักรภพก็มีผู้แย้ง[7] การรวมตัวเป็นเครือจักรภพตรงกับคำนิยามของ “การรวมเป็นสหอำนาจ” แต่จะว่าว่าเป็นการรวมราชบัลลังก์ในบริบทของการบริหารปัจจุบันก็ยังไม่เป็นที่แน่ใจ[ต้องการอ้างอิง] and b) ซึ่งอาจจะเป็นการใช้คำที่ผิดกาละ (anachronism) นอกจากนั้นก็ยังเป็นที่กังขากันว่าการปกครองโดยพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันจะตรงกับความหมายของวลี “รัฐร่วมประมุข” เพราะราชบัลลังก์ของประเทศที่เข้าร่วมมิได้แยกจากกันอย่างเป็นเอกเทศ[ต้องการอ้างอิง]

เสรีรัฐคองโก

  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับเบลเยียม ระหว่าง ค.ศ. 1885 จนถึง ค.ศ. 1908 เมื่อคองโกเป็นอาณานิคมของเบลเยียม

โครเอเชีย

เดนมาร์ก

อังกฤษ

ฟินแลนด์

ฝรั่งเศส

ข้อสังเกต: ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ปัญหาที่ก่อให้เกิดสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนคือความหวาดระแวงของการสืบราชบัลลังก์เสปนที่ระบุโดยกฎหมายสเปน ที่มีผลทำให้หลุยส์ผู้เป็นรัชทายาทของฝรั่งเศสอยู่แล้วจะได้ครองสเปนด้วยโดยสิทธิ “รัฐร่วมประมุข” ซึ่งเป็นการทำให้เสถียรภาพของมหาอำนาจในยุโรปขาดความสมดุล (ฝรั่งเศสขณะนั้นเป็นประเทศที่มีอานุภาพทางทหารมากกว่าผู้ใดในยุโรปและสเปนก็เป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุด)

เกรตบริเตน

ฮาโนเวอร์

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ฮังการี

  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับโปแลนด์ และ โบฮีเมีย ระหว่าง ค.ศ. 1301 จนถึง ค.ศ. 1305
  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับโปแลนด์ ระหว่าง ค.ศ. 1370 จนถึง ค.ศ. 1382 ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าหลุยส์ที่ 1 สมัยประวัติศาสตร์ของโปแลนด์ในช่วงนี้บางครั้งก็เรียกว่า "ประวัติศาสตร์โปแลนด์ยุคกลาง" (Andegawen Poland) พระเจ้าหลุยส์ทรงได้รับราชบัลลังก์โปแลนด์จากพระปิตุลาทางฝ่ายพระราชมารดาคาสิเมียร์ที่ 3 เมื่อพระเจ้าหลุยส์เสด็จสวรรคนขุนนางโปแลนด์ก็ตัดสินใจยุติ “การรวมตัว” เพราะไม่ต้องการที่จะถูกปกครองโดยฮังการี และเลือกพระราชธิดาองค์รองของพระเจ้าหลุยส์ ยัดวิกา (Jadwiga of Poland) ขึ้นเป็นประมุของค์ใหม่ ขณะที่พระราชธิดาองค์โตแมรีได้ฮังการี ฮังการีมารวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับโปแลนด์เป็นครั้งที่สองระหว่าง ค.ศ. 1440 จนถึง ค.ศ. 1444
  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับโบฮีเมียระหว่าง ค.ศ. 1419 จนถึง ค.ศ. 1439 และ ระหว่าง ค.ศ. 1490 จนถึง ค.ศ. 1918
  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ระหว่าง ค.ศ. 1410 จนถึง ค.ศ. 1439 และ ระหว่าง ค.ศ. 1526 จนถึง ค.ศ. 1806 (นอกจากระหว่าง ค.ศ. 1608 จนถึง ค.ศ. 1612)
  • รวมตัวกับออสเตรีย ระหว่าง ค.ศ. 1867 จนถึง ค.ศ. 1918

ไอซ์แลนด์

  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับเดนมาร์ก ระหว่าง ค.ศ. 1918 จนถึง ค.ศ. 1944 เมื่อไอซ์แลนด์เปลี่ยนไปเป็นสาธารณรัฐ

ไอร์แลนด์

ลิทัวเนีย

ลักเซมเบิร์ก

  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับโบฮีเมีย ระหว่าง ค.ศ. 1313 จนถึง ค.ศ. 1378 และระหว่าง ค.ศ. 1383 จนถึง ค.ศ. 1388
  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับ เนเธอร์แลนด์ ระหว่าง ค.ศ. 1815 จนถึง ค.ศ. 1890

นาวาร์

เนเธอร์แลนด์

นอร์เวย์

โปแลนด์

โปแลนด์-ลิทัวเนีย

  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับสวีเดน ระหว่าง ค.ศ. 1592 จนถึง ค.ศ. 1599
  • รวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรกับแซกโซนี ระหว่าง ค.ศ. 1697 จนถึง ค.ศ. 1705, ระหว่าง ค.ศ. 1709 จนถึง ค.ศ. 1733 และ ระหว่าง ค.ศ. 1733 จนถึง ค.ศ. 1763

โปรตุเกส

โรมาเนีย

แซ็กซ์-ไวมาร์ และ แซ็กซ์-ไอเซ็นนาค

ชเลสวิก และ โฮลชไตน์

  • พระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กดำรงตำแหน่งเป็นดยุคแห่งชเลสวิก และ โฮลชไตน์ ระหว่างปี ค.ศ. 1460 จนถึง ค.ศ. 1864 (โฮลชไตน์เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ขณะที่ชเลสวิกเป็นส่วนหนึ่งของเดนมาร์ก) สถานะการณ์ยิ่งเพิ่มความสับสนเมื่อบางครั้งดัชชีทั้งสองถูกแบ่งระหว่างสาขาต่างๆ ของราชวงศ์โอลเดนบวร์ก (ราชวงศที่ปกครองเดนมาร์กและชเลสวิก-โฮลชไตน์) นอกจากดัชชี "หลัก" แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์-กลึคชตัดท์ที่ปกครองโดยพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก ก็ยังมีรัฐที่มีดินแดนอื่นที่อยู่ในดัชชีทั้งสองด้วย ที่สำคัญก็ได้แก่ดยุคแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์-กอททอร์พ และดยุคที่ขึ้นอยู่กับดยุคแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์-กอททอร์พ -- ดยุคแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์-เบ็ค, ชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดนบวร์ก-ออกัสเตนบวร์ก และ ชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดนบวร์ก-กลึคบวร์ก

สกอตแลนด์


สเปน

สวีเดน

สหราชอาณาจักร

อ้างอิง

  1. Lalor, ed. Various authors. See Contents. Cyclopaedia of Political Science. New York: Maynard, Merrill, and Co., ed. John Joseph Lalor, 1899. online version; accessed 21 June 2008
  2. 2.0 2.1 Oppenheim, Lassa (2005). International Law: A Treatise. The Lawbook Exchange. ISBN 1584776099, 9781584776093. สืบค้นเมื่อ 2008-10-05. At present there is no Personal Union in existence {{cite book}}: ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  3. http://www.crownedrepublic.com.au/index.php/australian-crown/personal-union
  4. Steinweis, A.E. (1996). Art, Ideology, and Economics in Nazi Germany. UNC Press. p. 60.
  5. Mansergh, Nicholas (1934). The Irish Free State - Its Government and Politics. Read Books. p. 263.
  6. F. R. Scott (January 1944). "The End of Dominion Status". The American Journal of International Law. 38 (1): 34–49. doi:10.2307/2192530. The common kinship within the British group today establishes a form of personal union
  7. P. E. Corbett (1940). "The Status of the British Commonwealth in International Law". The University of Toronto Law Journal. 3 (2): 348–359. doi:10.2307/824318. {{cite journal}}: ระบุ |number= และ |issue= มากกว่าหนึ่งรายการ (help)CS1 maint: date and year (ลิงก์)
  8. "Croatia (History)". Encarta.
  9. "Croatia (History)". Britannica.
  10. R. W. SETON -WATSON:The southern Slav question and the Habsburg Monarchy page 18
  11. Font, Marta:Hungarian Kingdom and Croatia in the Middle Age

ดูเพิ่ม