ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อรนุช โอสถานนท์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: แทนที่หมวดหมู่ สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม. ด้วย ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: แทนที่หมวดหมู่ สมาชิกเหรียญจักรพรรดิมาลา ด้วย ผู้ได้รับเหรียญจักรพรรดิมาลา
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเหรียญจักรพรรดิมาลา]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเหรียญจักรพรรดิมาลา]]
[[หมวดหมู่:สกุลโอสถานนท์]]
[[หมวดหมู่:สกุลโอสถานนท์]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกวุฒิสภาไทยแบบแต่งตั้ง]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกวุฒิสภาไทยแบบแต่งตั้ง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:02, 1 ธันวาคม 2562

อรนุช โอสถานนท์
ไฟล์:อรนุช โอสถานนท์.jpg
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
ดำรงตำแหน่ง
2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 – 23 กันยายน พ.ศ. 2550
นายกรัฐมนตรีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์
ก่อนหน้าสุริยา ลาภวิสุทธิสิน
ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ
ถัดไปวิรุฬ เตชะไพบูลย์
บรรยิน ตั้งภากรณ์
พิเชษฐ์ ตันเจริญ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด4 มิถุนายน พ.ศ. 2481 (85 ปี)
ประเทศไทย
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสวิระ โอสถานนท์

นางอรนุช โอสถานนท์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาล รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

ประวัติ

นางอรนุช โอสถานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2481 (85 ปี) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านเศรษฐศาสตร์ จากประเทศสหรัฐอเมริกา และปริญญาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 28

นางอรนุช โอสถานนท์ เริ่มรับราชการในกระทรวงพาณิชย์ และได้รับรางวัลครุฑทองคำ ในปี พ.ศ. 2536 ขณะดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ และเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ. 2541

การเมือง

นางอรนุช โอสถานนท์ เคยดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในปี พ.ศ. 2514 และเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในปี พ.ศ. 2515 ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 จึงได้กลับเข้าสู่งานการเมืองอีกครั้งโดยการได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ [1] ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่งเนื่องจากคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ระบุว่า มีนักการเมืองถือหุ้นทำธุรกิจเกินร้อยละ 5[2][3]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง