(Translated by https://www.hiragana.jp/)
ดักลาส ดีซี-8 - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

ดักลาส ดีซี-8

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ดักลาส ดีซี-8

ดักลาส ดีซี-8 ของเจแปนแอร์ไลน์
ข้อมูลทั่วไป
บทบาทอากาศยานลำตัวแคบ
ชาติกำเนิดสหรัฐอเมริกา
บริษัทผู้ผลิตดักลาส แอร์คราฟท์ คอมปะนี (พ.ศ. 2501-2510)
แมคดอนเนลล์ ดักลาส (พ.ศ. 2510-2515)
สถานะในประจำการอย่างจำกัดแบบเครื่องบินขนส่งสินค้า
ผู้ใช้งานหลักยูไนเต็ดแอร์ไลน์ (อดีต)
ยูพีเอส แอร์ไลน์ (อดีต)
เดลตาแอร์ไลน์ (อดีต)
ทรานส์ แอร์ คาร์โก้ เซอร์วิส
จำนวนที่ผลิต556 ลำ
ประวัติ
สร้างเมื่อพ.ศ. 2501-2515
เริ่มใช้งาน18 กันยายน พ.ศ. 2502
โดยเดลตาแอร์ไลน์ และ ยูไนเต็ดแอร์ไลน์
เที่ยวบินแรก30 พฤษภาคม พ.ศ. 2501

ดักลาส ดีซี-8 (อังกฤษ: Douglas DC-8) เป็นเครื่องบินเจ็ทโดยสารแบบแรกของบริษัทดักลาส และ เป็นคู่แข่งกับโบอิง 707 ดีซี-8 บินครั้งแรกในวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1958 และ เริ่มรับผู้โดยสารเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1959 และมีการผลิตทั้งสิ้น 556 เครื่อง

รายละเอียด ดีซี-8

[แก้]

ข้อมูลจำเพาะ[1]

  • ผู้สร้าง บริษัท ดักลาส (สหรัฐอเมริกา)
  • ประเภท เจ็ทโดยสารพิสัยบินไกล เจ้าหน้าที่ 3-5 นาย อัตราผู้โดยสารสูงสุด 179 ที่นั่ง (ดีซี-8-50) และ 259 ที่นั่ง (ดีซี-8-63)
  • เครื่องยนต์ เทอร์โบแฟน แพรทท์ แอนด์ วิทนีย์ เจที 3 ดี-1 แรงขับ 7,945 กิโลกรัม

หรือ เจที 3 ดี-3 แรงขับ 8,172 กิโลกรัม จำนวน 4 เครื่อง (ดีซี-8-50)

  • เทอร์โบแฟน แพรทท์ แอนด์ วิทนีย์ เจที 3 ดี-7 แรงขับ 8,618 กิโลกรัม 4 เครื่อง (ดีซี-8-63)
  • กางปีก 43.41 เมตร (ดีซี-8-50)
    • 45.26 เมตร (ดีซี-8-63)
  • ยาว 45.87 เมตร (ดีซี-8-50)
    • 57.12 เมตร (ดีซี-8-63)
  • สูง 12.91 เมตร
  • พื้นที่ปีก 266.5 ตารางเมตร (ดีซี-8-50)
    • 271.9 ตารางเมตร (ดีซี-8-63)
  • น้ำหนักเปล่า 60,020 กิโลกรัม (ดีซี-8-50)
    • 69,739 กิโลกรัม (ดีซี-8-63)
  • น้ำหนักบรรทุกสูงสุด 21,092 กิโลกรัม (ดีซี-8-50)
    • 30,719 กิโลกรัม (ดีซี-8-63)
  • น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด 147,415 กิโลกรัม (ดีซี-8-50)
    • 158,760 กิโลกรัม (ดีซี-8-63)
  • อัตราเร็วเดินทาง 933 กิโลเมตร/ชั่วโมง (ดีซี-8-50)
  • อัตราเร็วเดินทางประหยัด 842 กิโลเมตร/ชั่วโมง (ดีซี-8-63)
  • พิสัยบินเมื่อบรรทุกสูงสุด 9,950 กิโลเมตร (ดีซี-8-50)
    • 7,240 กิโลเมตร (ดีซี-8-63)

อ้างอิง

[แก้]
  1. อภิวัตน์ โควินทรานนท์. อากาศยาน 1979 ฉบับเครื่องบิน. กรุงเทพฯ : เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์, พ.ศ. 2522.