อักษรขโรษฐี
อักษรขโรษฐี 𐨑𐨪𐨆𐨯𐨠𐨁 | |
---|---|
ชนิด | |
ช่วงยุค | ศตวรรษที่ 4 ก่อน ค.ศ. – คริสต์ศตวรรษที่ 3 |
ทิศทาง | ขวาไปซ้าย |
ภาษาพูด | |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบพี่น้อง | |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Khar (305), Kharoshthi |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Kharoshthi |
ช่วงยูนิโคด | U+10A00–U+10A5F |
อักษรขโรษฐี (Kharoṣṭhī alphabet; ขโรษฐี: 𐨑𐨪𐨆𐨯𐨠𐨁) เป็นอักษรอินโด-อิเรเนียนโบราณที่ชาวอารยันหลายกลุ่มใช้ในภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอนุทวีปอินเดีย โดยเฉพาะรอบ ๆ บริเวณที่เป็นประเทศปากีสถานตอนเหนือและอัฟกานิสถานตะวันออกในปัจจุบัน และยังมีผู้ใช้งานในเอเชียกลางด้วย[1] อักษรสระประกอบนี้เริ่มมีการใช้งานอย่างน้อยในช่วงกลาวศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งอาจอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช[6] จนกระทั่งหายสาบสูญประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 3[1]
เจมส์ ปรินเซฟ และคณะถอดความหมายอักษรนี้ เมื่อราว พ.ศ. 2400 พยัญชนะแต่ละตัวมีเสียงอะ เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน
สระ
[แก้]อักษรต้น | เครื่องหมายเสริมสัทอักษร | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาพ | ข้อความ | ถอดเสียง | สัทอักษรสากล | ภาพ | ข้อความ | กับ 'k' | |||
ไม่ห่อ | กลางต่ำ | 𐨀 | a | /ə/ | — | — | 𐨐 | ka | |
หน้าสูง | 𐨀𐨁 | i | /i/ | 𐨁 | 𐨐𐨁 | ki | |||
ห่อ | หลังสูง | 𐨀𐨂 | u | /u/ | 𐨂 | 𐨐𐨂 | ku | ||
Syllabic vibrant | 𐨃 | 𐨐𐨃 | kr̥ | ||||||
กลาง | ไม่ห่อหน้า | 𐨀𐨅 | e | /e/ | 𐨅 | 𐨐𐨅 | ke | ||
ห่อหลัง | 𐨀𐨆 | o | /o/ | 𐨆 | 𐨐𐨆 | ko |
สระ | ตำแหน่ง | ตัวอย่าง | ใช้กับ |
---|---|---|---|
-i | แนวนอน | 𐨀 + 𐨁 → 𐨀𐨁 | a, n, h |
แนวทแยง | 𐨐 + 𐨁 → 𐨐𐨁 | k, ḱ, kh, g, gh, c, ch, j, ñ, ṭ, ṭh, ṭ́h, ḍ, ḍh, ṇ, t, d, dh, b, bh, y, r, v, ṣ, s, z | |
แนวตั้ง | 𐨠 + 𐨁 → 𐨠𐨁 | th, p, ph, m, l, ś | |
-u | ติด | 𐨀 + 𐨂 → 𐨀𐨂 | a, k, ḱ, kh, g, gh, c, ch, j, ñ, ṭ, ṭh, ṭ́h, ḍ, ḍh, ṇ, t, th, d, dh, n, p, ph, b, bh, y, r, l, v, ś, ṣ, s, z |
อิสระ | 𐨱 + 𐨂 → 𐨱𐨂 | ṭ, h | |
ตัวแฝด | 𐨨 + 𐨂 → 𐨨𐨂 | m | |
-r̥ | ติด | 𐨀 + 𐨃 → 𐨀𐨃 | a, k, ḱ, kh, g, gh, c, ch, j, t, d, dh, n, p, ph, b, bh, v, ś, s |
อิสระ | 𐨨 + 𐨃 → 𐨨𐨃 | m, h | |
-e | แนวนอน | 𐨀 + 𐨅 → 𐨀𐨅 | a, n, h |
แนวทแยง | 𐨐 + 𐨅 → 𐨐𐨅 | k, ḱ, kh, g, gh, c, ch, j, ñ, ṭ, ṭh, ṭ́h, ḍ, ḍh, ṇ, t, dh, b, bh, y, r, v, ṣ, s, z | |
แนวตั้ง | 𐨠 + 𐨅 → 𐨠𐨅 | th, p, ph, l, ś | |
ตัวแฝด | 𐨡 + 𐨅 → 𐨡𐨅 | d, m | |
-o | แนวทแยง | 𐨀 + 𐨆 → 𐨀𐨆 | a, k, ḱ, kh, g, gh, c, ch, j, ñ, ṭ, ṭh, ṭ́h, ḍ, ḍh, ṇ, t, th, d, dh, n, b, bh, m, r, l, v, ṣ, s, z, h |
แนวตั้ง | 𐨤 + 𐨆 → 𐨤𐨆 | p, ph, y, ś |
พยัญชนะ
[แก้]เสียงพยัญชนะหยุดไม่ก้อง | เสียงพยัญชนะหยุดก้อง | นาสิก | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ไม่พ่นลม | พ่นลม | ไม่พ่นลม | พ่นลม | |||||||||||||||
ภาพ | ข้อความ | ถอดเสียง | สัทอักษรสากล | ภาพ | ข้อความ | ถอดเสียง | ภาพ | ข้อความ | ถอดเสียง | สัทอักษรสากล | ภาพ | ข้อความ | ถอดเสียง | ภาพ | ข้อความ | ถอดเสียง | สัทอักษรสากล | |
เพดานอ่อน | 𐨐 | k | /k/ | 𐨑 | kh | 𐨒 | g | /ɡ/ | 𐨓 | gh | ||||||||
เพดานแข็ง | 𐨕 | c | /c/ | 𐨖 | ch | 𐨗 | j | /ɟ/ | 𐨙 | ñ | /ɲ/ | |||||||
ปลายลิ้นม้วน | 𐨚 | ṭ | /ʈ/ | 𐨛 | ṭh | 𐨜 | ḍ | /ɖ/ | 𐨝 | ḍh | 𐨞 | ṇ | /ɳ/ | |||||
ฟัน | 𐨟 | t | /t/ | 𐨠 | th | 𐨡 | d | /d/ | 𐨢 | dh | 𐨣 | n | /n/ | |||||
ริมฝีปาก | 𐨤 | p | /p/ | 𐨥 | ph | 𐨦 | b | /b/ | 𐨧 | bh | 𐨨 | m | /m/ |
เครื่องหมายวรรคตอน
[แก้]มีเครื่องหมายวรรคตอนที่ระบุได้ถึง 9 สัญลักษณ์:[8]
สัญลักษณ์ | รายละเอียด | สัญลักษณ์ | รายละเอียด | สัญลักษณ์ | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|---|
𐩐 | จุด | 𐩓 | แถบเสี้ยว | 𐩖 | danda |
𐩑 | วงกลมเล็ก | 𐩔 | mangalam | 𐩗 | ทวิ danda |
𐩒 | วงกลม | 𐩕 | ดอกบัว | 𐩘 | เส้น |
ตัวเลข
[แก้]อักษรขโรษฐีรวมชุดตัวเลขที่ชวนให้นึกถึงตัวเลขโรมัน[ต้องการอ้างอิง] ระบบนี้ใช้หลักการบวกและการคูณ แต่ไม่มีคุณลักษณะการลบที่ใช้ในระบบเลขโรมัน[9]
ค่า | 1 | 2 | 3 | 4 | 10 | 20 | 100 | 1000 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รูปภาพ | ||||||||
ยูนิโคด | 𐩀 | 𐩁 | 𐩂 | 𐩃 | 𐩄 | 𐩅 | 𐩆 | 𐩇 |
ตัวเลขเหล่านี้เขียนจากขวาไปซ้ายเหมือนกันตัวอักษร โดยไม่มีเลข 0 และสัญลักษณ์สำหรับตัวเลข 5–9 ตัวเลขในอักษรขโรษฐีใช้ระบบการบวก (additive system) เช่น เลข 1996 สามารถเขียนเป็น 1000 4 4 1 100 20 20 20 20 10 4 2 (ภาพ: , ข้อความ: 𐩇𐩃𐩃𐩀𐩆𐩅𐩅𐩅𐩅𐩄𐩃𐩁)
ยูนิโคด
[แก้]ขโรษฐี Unicode.org chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+10A0x | 𐨀 | 𐨁 | 𐨂 | 𐨃 | 𐨅 | 𐨆 | 𐨌 | 𐨍 | 𐨎 | 𐨏 | ||||||
U+10A1x | 𐨐 | 𐨑 | 𐨒 | 𐨓 | 𐨕 | 𐨖 | 𐨗 | 𐨙 | 𐨚 | 𐨛 | 𐨜 | 𐨝 | 𐨞 | 𐨟 | ||
U+10A2x | 𐨠 | 𐨡 | 𐨢 | 𐨣 | 𐨤 | 𐨥 | 𐨦 | 𐨧 | 𐨨 | 𐨩 | 𐨪 | 𐨫 | 𐨬 | 𐨭 | 𐨮 | 𐨯 |
U+10A3x | 𐨰 | 𐨱 | 𐨲 | 𐨳 | 𐨸 | 𐨹 | 𐨺 | 𐨿 | ||||||||
U+10A4x | 𐩀 | 𐩁 | 𐩂 | 𐩃 | 𐩄 | 𐩅 | 𐩆 | 𐩇 | ||||||||
U+10A5x | 𐩐 | 𐩑 | 𐩒 | 𐩓 | 𐩔 | 𐩕 | 𐩖 | 𐩗 | 𐩘 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 R. D. Banerji (April 1920). "The Kharosthi Alphabet". The Journal of the Royal Asiatic Society of Great Britain and Ireland. 52 (2): 193–219. doi:10.1017/S0035869X0014794X. JSTOR 25209596. S2CID 162688271.
- ↑ Bühler, Georg (1895). "The Origin of the Kharoṣṭhī Alphabet". Wiener Zeitschrift für die Kunde des Morgenlandes. 9: 44–66. JSTOR 23860352.
- ↑ "Kharosthi Script". World History Encyclopedia.
- ↑ "Kharoshti: writing system". Britannica.
- ↑ Salomon 1998, p. 20.
- ↑ Salomon 1998, pp. 11–13.
- ↑ 7.0 7.1 Daniels, Peter T.; Bright, William, บ.ก. (1996). The World's Writing Systems. Oxford University Press, Inc. pp. 373–383. ISBN 978-0195079937.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 Glass, Andrew; Baums, Stefan; Salomon, Richard (2003-09-18). "L2/03-314R2: Proposal to Encode Kharoshthi in Plane 1 of ISO/IEC 10646" (PDF).
- ↑ Graham Flegg, Numbers: Their History and Meaning, Courier Dover Publications, 2002, ISBN 978-0-486-42165-0, p. 67f.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Salomon, Richard (1998). Indian Epigraphy: A Guide to the Study of Inscriptions in Sanskrit, Prakrit, and the other Indo-Aryan Languages. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-535666-3.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- อักษรขโรษฐี (อังกฤษ)
- Gandhari.org Catalog and Corpus of all known Kharoṣṭhī (Gāndhārī) texts
- Indoskript 2.0, a paleographic database of Brahmi and Kharosthi
- A Preliminary Study of Kharoṣṭhī Manuscript Paleography by Andrew Glass, University of Washington (2000)