(Translated by https://www.hiragana.jp/)
เรือบรรทุกเครื่องบินคางะ - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

เรือบรรทุกเครื่องบินคางะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Kaga after her modernization, with her distinctive downward-facing funnel
ภาพรวมชั้น
ผู้ใช้งาน: Naval flag of จักรวรรดิญี่ปุ่น กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น
ก่อนหน้าโดย: Akagi
ตามหลังโดย: Ryūjō
สร้างเมื่อ: 1920–1928
ในราชการ: 1928–1942
ในประจำการ: 1928–1942
เสร็จแล้ว: 1
สูญเสีย: 1
ประวัติ
จักรวรรดิญี่ปุ่น
ชื่อคางะ
ตั้งชื่อตามจังหวัดคางะ
อู่เรือKawasaki and Yokosuka Naval Arsenal
มูลค่าสร้าง¥53 million ($36.45 million)[1]
ปล่อยเรือ19 กรกฎาคม ค.ศ. 1920
เดินเรือแรก17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921
สร้างเสร็จ31 มีนาคม ค.ศ. 1928
เข้าประจำการ30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1929
เปลี่ยนระดับ21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923 ที่ได้กลายเป็นเรือบรรทุกเครื่องบิน
Refit20 ตุลาคม 1933 – 25 มิถุนายน 1935
Stricken10 สิงหาคม ค.ศ. 1942
ความเป็นไปถูกทำให้จมโดยการโจมตีทางอากาศของสหรัฐที่ยุทธนาวีที่มิดเวย์ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1942
ลักษณะเฉพาะ (after 1935 modernization)
ประเภท: เรือบรรทุกเครื่องบิน
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 38,200 long ton (38,813 เมตริกตัน) (standard)
ความยาว: 247.65 m (812 ft 6 in)
ความกว้าง: 32.5 m (106 ft 8 in)
กินน้ำลึก: 9.48 m (31 ft 1 in)
ระบบพลังงาน:
ระบบขับเคลื่อน: 4 shafts; 4 geared steam turbines
ความเร็ว: 28 นอต (52 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 32 ไมล์ต่อชั่วโมง)
พิสัยปฏิบัติการ: 10,000 nmi (19,000 km; 12,000 mi) at 15 นอต (28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 17 ไมล์ต่อชั่วโมง)
อัตราเต็มที่: 1,708 (after reconstruction)
ยุทโธปกรณ์:
เกราะ:
  • Belt: 152 mm (6 in)
  • Deck: 38 mm (1.5 in)
  • อากาศยาน:
  • 90 (total); 72 (+ 18 in storage) (1936)
  • 21 Mitsubishi A6M Zero,
  • 27 Aichi D3A,
  • 27 Nakajima B5N (7 Dec 1941)
  • เรือบรรทุกเครื่องบินคางะ (ญี่ปุ่น: 加賀かが) เป็นเรือบรรทุกอากาศยานที่กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นสร้างขึ้น ชื่อนี้มาจากอดีตจังหวัดคางะซึ่งตั้งอยู่ที่จังหวัดอิชิกาวะในปัจจุบัน เรือลำนี้เดิมตั้งใจจะให้เป็นเรือประจัญบานชั้นโทซะ แต่ได้รับการดัดแปลงเป็นเรือบรรทุกเครื่องบินตามความในสนธิสัญญานาวิกวอชิงตันเพื่อใช้แทนเรืออามางิที่เสียหายจนซ่อมแซมไม่ได้ ต่อมาในช่วง ค.ศ. 1933–1935 มีการสร้างเรือคางะขึ้นใหม่ โดยเพิ่มระดับความเร็วและปรับปรุงด้านอื่น ๆ

    เรือคางะเข้าร่วมกองทัพอากาศยานที่ 1 ในยุทธนาวีที่มิดเวย์เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1942 ต่อมาเมื่อทิ้งระเบิดใส่กองทัพอเมริกันบนอะทอลล์แล้ว เรือคางะและเรืออื่น ๆ อีกสามลำถูกอากาศยานอเมริกันและเรือบรรทุกอื่น ๆ คือ เอนเทอร์ไพรซ์, ฮอร์เนต, และยอร์กทาวน์ เข้าโจมตีจากมิดเวย์ เครื่องบินดำดิ่งทิ้งระเบิดจากเรือเอนเทอร์ไพรซ์ได้จมเรือคางะ การสูญเสียของคางะและเรือบรรทุกเครื่องบินสามลำของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นที่มิดเวย์เป็นความพ่ายแพ้ทางยุทธศาสตร์ที่สำคัญสำหรับญี่ปุ่นและมีส่วนที่สำคัญต่อชัยชนะอย่างล้นหลามของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก

    Research Vessel Petrel ค้นพบซากเรือคางะที่ก้นทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 2019

    ดูเพิ่ม

    [แก้]

    อ้างอิง

    [แก้]
    1. Parshall and Tully, p. 535
    • Brown, David (1977). Aircraft Carriers. New York: Arco Publishing Company. ISBN 0-668-04164-1.
    • Campbell, John (1985). Naval Weapons of World War Two. Annapolis, Maryland: Naval Institute Press. ISBN 0-87021-459-4.
    • Cheung, Raymond; Davey, Chris (2015). Aces of the Republic of China Air Force. Aircraft of the Aces. Vol. 126. Oxford, UK: Osprey Publishing. ISBN 978-1-4728-0561-4.
    • Cressman, Robert J.; Steve Ewing; Barrett Tillman; Mark Horan; Clark G. Reynolds; Stan Cohen (1990). A Glorious Page in our History: The Battle of Midway 4–6 June 1942. Missoula, Montana: Pictorial Histories Publishing Company, Inc. ISBN 978-0-929521-40-4.
    • Fuchida, Mitsuo (1986). Evans, David C. (บ.ก.). The Japanese Navy in World War II: In the Words of Former Japanese Naval Officers (2nd ed.). Annapolis, Maryland: Naval Institute Press. ISBN 0-87021-316-4.
    • Fuchida, Mitsuo; Masatake Okumiya (1955). Midway: The Battle That Doomed Japan, The Japanese Navy's Story. Annapolis, Maryland: United States Naval Institute. OCLC 607018642.
    • Gardiner, Robert; Gray, Randal, บ.ก. (1985). Conway's All the World's Fighting Ships: 1906–1921. Annapolis, Maryland: Naval Institute Press. ISBN 0-85177-245-5.
    • Gill, G. Hermon (1957). Volume I – Royal Australian Navy, 1939–1942. Australia in the War of 1939–1945, Series 2: Navy (1st ed.). Canberra: Australian War Memorial. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 May 2009.
    • Goldstein, Donald M.; Dillon, Katherine V., บ.ก. (2004). The Pacific War Papers: Japanese Documents of World War II. Dulles, Virginia: Potomac Books. ISBN 1-57488-632-0.
    • Hata, Ikuhiko; Izawa, Yasuho (1989) [1975]. Japanese Naval Aces and Fighter Units in World War II. Translated by Don Cyril Gorham. Annapolis, Maryland: Naval Institute Press. ISBN 0-87021-315-6.
    • Howarth, Stephen (1983). The Fighting Ships of the Rising Sun: The Drama of the Imperial Japanese Navy 1895–1945. Fairfield, Pennsylvania: Fairfield Graphics. ISBN 0-689-11402-8.
    • Ireland, Bernard (2007). Aircraft Carriers of the World. London: Southwater. ISBN 978-1-84476-363-4.
    • Jentschura, Hansgeorg; Jung, Dieter; Mickel, Peter (1977). Warships of the Imperial Japanese Navy, 1869–1945. Annapolis, Maryland: United States Naval Institute. ISBN 0-87021-893-X.
    • Lengerer, Hans (1982). "Akagi & Kaga". ใน Roberts, John (บ.ก.). Warship VI. London: Conway Maritime Press. ISBN 0-87021-981-2.
    • Lundstrom, John B. (2005). The First Team: Pacific Naval Air Combat from Pearl Harbor to Midway (New ed.). Annapolis, Maryland: Naval Institute Press. ISBN 0-87021-189-7.
    • Parshall, Jonathan; Tully, Anthony (2005). Shattered Sword: The Untold Story of the Battle of Midway. Dulles, Virginia: Potomac Books. ISBN 1-57488-923-0.
    • Peattie, Mark (2001). Sunburst: The Rise of Japanese Naval Air Power 1909–1941. Annapolis, Maryland: Naval Institute Press. ISBN 1-55750-432-6.
    • Sakaida, Henry (2002). Aces of the Rising Sun, 1937–1945. Oxford: Osprey Publishing. ISBN 1-84176-618-6.
    • Stille, Mark (2007). USN Carriers vs IJN Carriers: The Pacific 1942. Oxford: Osprey Publishing. ISBN 978-1-84603-248-6.
    • Toland, John (2003) [1970]. The Rising Sun: The Decline and Fall of the Japanese Empire, 1936–1945. New York: The Modern Library. ISBN 0-8129-6858-1.
    • Tully, Anthony P. (2000). "IJN Kaga: Tabular Record of Movement". Kido Butai. Combinedfleet.com. สืบค้นเมื่อ 15 June 2010.
    • Nauticos LLC (1999). "IJN Carrier Wreckage- Identification Analysis". nauticos.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2013. สืบค้นเมื่อ 6 June 2013.
    • Werneth, Ron (2008). Beyond Pearl Harbor: The Untold Stories of Japan's Naval Airmen. Atglen, Pennsylvania: Schiffer Military History. ISBN 978-0-7643-2932-6.
    • Willmott, H. P. (1983). The Barrier and the Javelin: Japanese and Allied Pacific Strategies, February to June 1942. Annapolis, Maryland: Naval Institute Press. ISBN 978-1-59114-949-1.
    • Zimm, Alan D. (2011). Attack on Pearl Harbor: Strategy, Combat, Myths, Deceptions. Havertown, Pennsylvania: Casemate Publishers. ISBN 978-1-61200-010-7.