(Translated by https://www.hiragana.jp/)
สตารีมอสต์ - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

สตารีมอสต์

พิกัด: 43°20′13.56″N 17°48′53.46″E / 43.3371000°N 17.8148500°E / 43.3371000; 17.8148500
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Stari Most)
สตารีมอสต์
พิกัด43°20′13.56″N 17°48′53.46″E / 43.3371000°N 17.8148500°E / 43.3371000; 17.8148500
เส้นทางคนเดินเท้า
ข้ามแม่น้ำเนเรตวา
ที่ตั้งม็อสตาร์ ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
สถานะKONS[1]
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภทสะพานโค้ง
วัสดุหิน
ความยาว29 เมตร (95 ฟุต)
ความกว้าง4 เมตร (13 ฟุต)
จำนวนช่วง1
เคลียร์ตอนล่างca.20 เมตร (66 ฟุต) at mid-span depending on river water-level
ประวัติ
สถาปนิกมีมาร์ ฮายรูดดีน (อาจมาจากแนวคิดของมีมาร์ ซีนาน)
ผู้สร้างMimar Hayruddin, apprentice of Mimar Sinan
วันเริ่มสร้าง1557
วันสร้างเสร็จ1566
วันเปิด1566; 458 ปีที่แล้ว (1566)
สร้างใหม่7 มิถุนายน 2001 – 23 กรกฎาคม 2004
ชื่อที่ขึ้นทะเบียนย่านสะพานเก่าของย่านเมืองเก่าม็อสตาร์
ประเภทวัฒนธรรม
เกณฑ์vi
ขึ้นเมื่อ2005 (29th session)
เลขอ้างอิง946
รัฐธงของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ภูมิภาคยุโรป
ที่ตั้ง
แผนที่

สตารีมอสต์ (บอสเนีย: Stari Most; แปลว่า สะพานเก่า) หรือ สะพานม็อสตาร์ (ตุรกี: Mostar Köprüsü) เป็นสะพานยุคจักรวรรดิออตโตมันในม็อสตาร์ ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ข้ามแม่น้ำเนเรตวา สะพานเดิมมีอายุได้ 427 ปีขณะที่ถูกทำลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน 1993 โดยกองกำลังกึ่งกองทัพโครแอตระหว่างสงครามโครแอต-บอสนีแอก สะพานที่สร้างขึ้นใหม่ทดแทนนั้นสร้างเสร็จและเปิดใช้งานในวันที่ 23 กรกฎาคม 2004

สะพานนี้เป็นตัวอย่างชิ้นสำคัญของสถาปัตยกรรมอิสลามแบบบอลข่าน สร้างขึ้นโดยสุลัยมานผู้เกรียงไกรในปี 1557 ผลงานออกแบบโดยมีมาร์ ฮายรูดดีน ลูกศิษย์ของมีมาร์ ซีนาน ผู้สร้างสิ่งก่อสร้างหลัก ๆ ของสุลต่านผู้เกรียงไกรมากมายทั่วทั้งอิสตันบูลและจักรวรรดิออตโตมัน[2][3][4][5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Old Bridge (Stari Most) in Mostar - Commission to preserve national monuments". old.kons.gov.ba (ภาษาอังกฤษ). Commission to preserve national monuments (KONS). 8 July 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-26. สืบค้นเมื่อ 25 June 2018.
  2. Balić, Smail (1973). Kultura Bošnjaka: Muslimanska Komponenta. Vienna. pp. 32–34. ISBN 9783412087920.
  3. Čišić, Husein (2007). Razvitak i postanak grada Mostara. Štamparija Mostar. p. 22. ISBN 9789958910500.
  4. Stratton, Arthur (1972). Sinan. New York: Charles Scribner's Sons. ISBN 9780684125824.
  5. Jezernik, Božidar (1995). "Qudret Kemeri: A Bridge between Barbarity and Civilization". The Slavonic and East European Review. 73 (95): 470–484. JSTOR 4211861.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]