(Translated by https://www.hiragana.jp/)
หวงตี้เน่ยจิง - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

หวงตี้เน่ยจิง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(ต่าง) ←รุ่นเก่ากว่านี้ | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นที่ใหม่กว่า → (ต่าง)
สำเนาดิจิทัลของ บทซูเวิ่นของตำราฮวงตี้เน่ยจิง

หวงตี้เน่ยจิง (จีนตัวย่อ: みかどない; จีนตัวเต็ม: みかど內經; พินอิน: Huángdì Nèijīng), หรือในศัพท์ทางการว่า อักษรสาสน์แห่งจักรพรรดิเหลือง (อังกฤษ: Inner Canon of the Yellow Emperor) หรือ คัมภีร์ลับแห่งจักรพรรดิเหลือง (อังกฤษ: Esoteric Scripture of the Yellow Emperor), เป็นตำราแพทย์แผนจีนโบราณหรือเป็นกลุ่มตำราที่ได้รับการขนานนามว่าเป็นแหล่งคำสอนหลักว่าด้วยการแพทย์แผนจีนมากกว่าสองพันปี ตำรานี้ประกอบด้วยสองส่วนหลัก ในส่วนหลักแบ่งบทความเป็นแปดสิบเอ็ดบท เนื้อหาของบทความประกอบด้วยการปุจฉาและวิสัชนาของจักรพรรดิเหลืองและขุนนางชั้นผู้ใหญ่ในตำนานหกคน[1]

ส่วนบทแรกมีชื่อว่า ซูเวิ่น (とい), หรือรู้จักกันในชื่อ คำปุจฉาพื้นฐาน,[1] อธิบายความละเอียดของรากฐานทฤษฎีการแพทย์แผนจีนและวิธีการวินิจฉัยโรค ต่อมา บทที่สองมีชื่อว่า หลิงฉู (れいくるる; แกนหมุนทางจิตวิญญาณ), อธิบายถึงการบำบัดโดยการฝังเข็มอย่างพิสดาร ตำราทั้งสองส่วนจึงเรียกกันในชื่อว่า เน่ยจิง หรือ ฮวงตี้เน่ยจิง ในทางปฏิบัติ อย่างไรก็ดี ตำราใช้คำว่า เน่ยจิง มักอ้างเฉพาะถึงส่วนของตำราชื่อว่า ซูเวิ่น ซึ่งได้รับอิทธิพลสูงกว่าเท่านั้น

โดยปรากฎตำราอีกสองเล่มใช้คำขึ้นต้นชื่อว่า ฮวงตี้เน่ยจิง ในตำราเหล่านั้น: หมิงถัง (あかりどう; หอแสง) และ ไท่ซู่ (ふとしもと; กฎเกณฑ์สำคัญ), เหลือสภาพตำราเพียงบางส่วน ตำรานี้ได้มีอิทธิพลต่อหมู่ลัทธิเต๋า

อ้างอิง

[แก้]

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Lu, Gwei-djen and Joseph Needham (1980). Celestial Lancets: A History and Rationale of Acupuncture and Moxa. New York, NY: Routledge/Curzon. ISBN 0-7007-1458-8.
  • Siku Quanshu Zongmu Tiyao 四庫全書總目提要 (Complete Library of the Four Treasuries: General Catalog with Abstracts), ed. by Ji Yun きの (1724–1805), Yong Rong えい (1744–1790), 1782. Shanghai: Shangwu Yinshuguan 上海しゃんはい: 商務しょうむしるししょかん, 1933). OCLC 23301089.
  • Sivin, Nathan (1993). "Huang ti nei ching みかど內經." In Early Chinese Texts: A Bibliographical Guide, ed. by Michael Loewe. Berkeley and Los Angeles: University of California Press: 196-215.
  • Sivin, Nathan (1988). "Science and Medicine in Imperial China—The State of the Field". The Journal of Asian Studies. 47 (1): 41–90. doi:10.2307/2056359. JSTOR 2056359. PMID 11617269. S2CID 26443679. ProQuest 1290553712.
  • Sôma, Mitsuru; Kawabata, Kin-aki; Tanikawa, Kiyotaka (25 October 2004). "Units of Time in Ancient China and Japan". Publications of the Astronomical Society of Japan. 56 (5): 887–904. doi:10.1093/pasj/56.5.887.
  • Unschuld, Paul U. (2003). Huang Di Nei Jing Su Wen : Nature, Knowledge, Imagery in an Ancient Chinese Medical Text, with an Appendix, the Doctrine of the Five Periods and Six Qi in the Huang Di Nei Jing Su Wen. Berkeley: University of California Press. ISBN 0520233220.
  • ———; Tessenow, Hermann (2008). A Dictionary of the Huang Di Nei Jing Su Wen. Berkekely, Calif.: University of California Press. ISBN 978-0520253582.
  • ———; Tessenow, Hermann (2011). Huang Di Nei Jing Su Wen : An Annotated Translation of Huang Di's Inner Classic - Basic Questions, Volume II, Chapters 53-71, and 74-81. University of California Press. ISBN 9780520266988.
  • Veith, Ilza; translator (1972). The Yellow Emperor's Classic of Internal Medicine). Revised paperback edition. Berkeley, Los Angeles: University of California Press. ISBN 0-520-02158-4.
  • Wiseman, Nigel and Andy Ellis (1995). Fundamentals of Chinese Medicine: Zhong Yi Xue Ji Chu. Revised edition. Brookline, Mass.: Paradigm Publications. ISBN 0-912111-44-5.