พ.ศ. 2500
หน้าตา
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2500 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1957 MCMLVII |
Ab urbe condita | 2710 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1406 ԹՎ ՌՆԶ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6707 |
ปฏิทินบาไฮ | 113–114 |
ปฏิทินเบงกอล | 1364 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2907 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 5 Eliz. 2 – 6 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2501 |
ปฏิทินพม่า | 1319 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7465–7466 |
ปฏิทินจีน | 4653 หรือ 4593 — ถึง — 4654 หรือ 4594 |
ปฏิทินคอปติก | 1673–1674 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3123 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1949–1950 |
ปฏิทินฮีบรู | 5717–5718 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2013–2014 |
- ศกสมวัต | 1879–1880 |
- กลียุค | 5058–5059 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11957 |
ปฏิทินอิกโบ | 957–958 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1335–1336 |
ปฏิทินอิสลาม | 1376–1377 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 32 ( |
ปฏิทินจูเช | 46 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4290 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 46 |
พุทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี
เหตุการณ์
[แก้]มกราคม-มีนาคม
[แก้]- 1 มกราคม - ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยเพิ่ม "ดูหมิ่น" และเปลี่ยนเป็นความผิดต่อความมั่นคงของชาติ หลังประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 มีผลใช้บังคับ[1]: 6, 18
- 13 มกราคม - บริษัทของเด็กเล่น Wham-O ผลิตจานร่อนใบแรก ต่อมาใช้ชื่อว่า ฟริสบี (Frisbee)
- 4 กุมภาพันธ์ - เรือดำน้ำนอติลุส เรือดำน้ำลำแรกที่ติดตั้งระบบขับเคลื่อนด้วยนิวเคลียร์ เดินทางได้ไกล 60,000 ไมล์ทะเล เท่ากับเรือดำน้ำนอติลุสในนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง "ใต้ทะเล 20,000 โยชน์" ของชูลส์ แวร์น
- 16 กุมภาพันธ์ - ทีมฟุตบอลทีมชาติอียิปต์ชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา ครั้งที่ 1 ณ ประเทศซูดาน
- 8 มีนาคม - ประเทศอียิปต์เปิดคลองสุเอซ
- 25 มีนาคม - เยอรมนีตะวันตก เนเธอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก อิตาลี ฝรั่งเศส และเบลเยียม ลงนามในสนธิสัญญาแห่งโรม เพื่อก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC)
เมษายน-มิถุนายน
[แก้]- 6 เมษายน - ทีมฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินาชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 25 ณ สนามกีฬานาซีโอนัล กรุงลิมา ประเทศเปรู
กรกฎาคม-กันยายน
[แก้]- 6 กรกฎาคม - แอลเทีย กิบสัน ชนะเลิศเทนนิสวิมเบิลดัน และเป็นนักกีฬาผิวดำคนแรกที่ได้แชมป์รายการนี้
- 29 กรกฎาคม - วันก่อตั้งสำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ
- 8 สิงหาคม - พิธีวางศิลาฤกษ์วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ณ จังหวัดเชียงใหม่
- 31 สิงหาคม - สหพันธรัฐมาลายา ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร
- 4 กันยายน - ผู้ว่าการรัฐอาร์คันซอ ฝ่าฝืนคำสั่งของศาลยุติธรรมแห่งสหรัฐอเมริกา โดยไม่ยอมให้นักเรียนแอฟริกัน-อเมริกัน 9 คน ที่รู้จักกันในชื่อ "ลิตเติลร็อกไนน์" เข้าศึกษาในโรงเรียนมัธยมลิตเติลร็อก
- 24 กันยายน - สนามกีฬากัมนอว์เปิดใช้งานเป็นครั้งแรก
- 26 กันยายน - ละครเพลง West Side Story เปิดการแสดงครั้งแรก ณ โรงละครบรอดเวย์
ตุลาคม-ธันวาคม
[แก้]- 4 ตุลาคม - สหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมสปุตนิค 1 ขึ้นสู่อวกาศด้วยจรวดอาร์-7 จากท่าอวกาศยานบัยโกเงอร์ คาซัคสถาน และกลายเป็นดาวเทียมดวงแรกที่โคจรรอบโลก
ไม่ทราบวัน
[แก้]- ไอบีเอ็ม ผลิตและจำหน่ายภาษาฟอร์แทรน
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 1 มกราคม - นัยนา เกิดวิชัย อดีตคณบดีคณะตำรวจศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ (ถึงแก่กรรม 6 ตุลาคม พ.ศ. 2562)
- 8 มกราคม - รอน เซฟาส โจนส์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 11 มกราคม - ไบรอัน ร็อบสัน นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 14 มกราคม - เจ้าชายเจอโรม นโปเลียน
- 18 มกราคม - โยโกะ อากิโนะ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น
- 19 มกราคม - ลีนเน ฟรานซิส นักกีฬาว่ายน้ำชาวออสเตรเลีย
- 23 มกราคม - เจ้าหญิงการอลีน เจ้าหญิงแห่งฮาโนเวอร์
- 27 มกราคม - คเวโต เพรทนาร์ นักฮอกกี้น้ำแข็งชาวสโลวีเนีย (ถึงแก่กรรม 25 เมษายน พ.ศ. 2561)
กุมภาพันธ์
[แก้]- 1 กุมภาพันธ์ - แจ็กกี ชรอฟฟ์ นักแสดงอินเดีย
- 14 กุมภาพันธ์ - โรลันโด นาบาร์เรเต นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์
- 19 กุมภาพันธ์ - เรย์ วินสตัน นักแสดงโทรทัศน์, ละครเวที และภาพยนตร์ชาวอังกฤษ
- 25 กุมภาพันธ์ - ธาร์แมน แชนมูการัตนม นักการเมืองและนักเศรษฐศาสตร์ชาวสิงคโปร์
- 27 กุมภาพันธ์ - อิงเงอร์บอร์ก ลอเรนต์ซัน
มีนาคม
[แก้]- มีนาคม - หยาง ลฺหวี่-อฺวี้ นักการเมืองจีน
- 9 มีนาคม - โอลีเฟอร์ ซตริทเซิล นักแสดงและนักพากย์
- 10 มีนาคม - อุซามะห์ บิน ลาดิน ผู้ก่อการร้ายชาวซาอุดีอาระเบีย (ถึงแก่กรรม 4 พถษภาคม พ.ศ. 2554)
- 11 มีนาคม - กอเซม โซเลย์มอนี นายพลชาวอิหร่าน (ถึงแก่กรรม 3 มกราคม พ.ศ. 2563)
- 20 มีนาคม -
- สไปค์ ลี ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- เอมี อะคีโน นักแสดงโทรทัศน์, ภาพยนตร์ และละครเวทีชาวอเมริกัน
- 23 มีนาคม - พัก ชัน-ฮี นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้
- 25 มีนาคม - วสันต์ โชติกุล นักร้อง
- 29 มีนาคม - คริสโตเฟอร์ แลมเบิร์ท นักแสดงชาวฝรั่งเศส
เมษายน
[แก้]- 4 เมษายน - เคซุเกะ อิตะงะกิ นักเขียนการ์ตูนมังงะชาวญี่ปุ่น
- 14 เมษายน - มิคาอิล เพลตเนฟ วาทยกร นักดนตรีคลาสสิก
- 15 เมษายน - ฮวัง กโย-อัน นายกรัฐมนตรีเกาหลีใต้
- 17 เมษายน - นิก ฮอร์นบี นักเขียนชาวอังกฤษ
- 21 เมษายน -
- บรูตัส บีฟเค้ก นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- โฟสแต็ง-อาร์ก็องฌ์ ตัวเดรา นักการเมืองและนักวิชาการสาธารณรัฐแอฟริกากลาง
- 22 เมษายน
- ดาเนียล แชตโท นักแสดง ชาวอังกฤษ
- ดอนัลต์ ตุสก์ นายกรัฐมนตรีโปแลนด์
- วีระ ธีรภัทร พิธีกรไทย
- 25 เมษายน - รอช มาร์ก คริสเตียน คาบอเร นักการเมืองและนายธนาคารบูร์กินาฟาโซ
- 29 เมษายน
- แดเนียล เดย์ ลูอิส นักแสดงชาวอังกฤษ
- นาโอมี มาตาอาฟา นักการเมืองซามัว
พฤษภาคม
[แก้]- 5 พฤษภาคม - ริชาร์ด อี แกรนท์ นักแสดงชาวลิสวาตี-อังกฤษ
- 8 พฤษภาคม - ริโนะ คะตะเซะ นักแสดงภาพยนตร์หญิงชาวญี่ปุ่น
- 10 พฤษภาคม - ซิด วิเชียส นักดนตรีชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522)
- 13 พฤษภาคม - หลิน เจิ้ง เยฺว่เอ๋อ นักการเมืองชาวฮ่องกง
- 15 พฤษภาคม
- เควิน วอน เอริช อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าหญิงลักเซมเบิร์ก
- เจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก
- 17 พฤษภาคม - สมบัติ ขจรไชยกุล นักแสดงชาย/นักดนตรี
- 19 พฤษภาคม - จันทนีย์ อูนากูล นักร้อง/นักแต่งเพลง
- 20 พฤษภาคม - โยะชิฮิโกะ โนะดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น
- 22 พฤษภาคม - ลี จ็อง-กุล บุคคลจากโซล
- 26 พฤษภาคม - โอลิเวีย พัสคัล นักแสดงเยอรมัน
- 28 พฤษภาคม - ซิลเวนา โทมาเซลลี นักวิชาการ, นักประวัติศาสตร์ประจำมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
มิถุนายน
[แก้]- 6 มิถุนายน - ไพรวัลย์ ดาเกลี้ยง จิตรกรชาวไทย
- 8 มิถุนายน - สกอตต์ แอดัมส์ นักเขียนการ์ตูนชาวอเมริกัน ("ดิลเบิร์ต")
- 10 มิถุนายน - ลินด์เซย์ ฮอยล์ นักการเมืองชาวอังกฤษ
- 15 มิถุนายน - ถวัลย์ รุยาพร ทนายความชาวไทย
- 17 มิถุนายน
- ฟิลลิดา ลอยด์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ
- 18 มิถุนายน -
- มีเกล อังเคล โลตีนา นักฟุตบอลชาวสเปน
- 19 มิถุนายน - อันนา ลินด์ นักการเมืองชาวสวีเดน (ถึงแก่กรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2546)
- 20 มิถุนายน
- โคโค บี.แวร์ นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 23 มิถุนายน - ฟรานเซส แม็คดอร์มานด์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 29 มิถุนายน - กูร์บันกูลืย เบียร์ดีมูฮาเมดอฟ นักการเมืองเติร์กเมนิสถาน
กรกฎาคม
[แก้]- 2 กรกฎาคม -
- เบรต ฮาร์ต นักมวยปล้ำอาชีพชาวแคนาดา
- 25 กรกฎาคม - ว่าน จื่อเหลียง นักแสดงฮ่องกง
- 26 กรกฎาคม
- ยฺเหวียน เปียว นักแสดงฮ่องกง
- 28 กรกฎาคม
- 29 กรกฎาคม -
- เอนรีเก เซียร์รา นักกีตาร์ชาวสเปน (ถึงแก่กรรม 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555)
- ฟูมิโอะ คิชิดะ นักการเมืองชาวญี่ปุ่น
สิงหาคม
[แก้]- 1 สิงหาคม - โยะชิโอะ คะโต นักฟุตบอลชาวญี่ปุ่น
- 9 สิงหาคม
- เมลานี กริฟฟิท นักแสดงอเมริกัน
- 11 สิงหาคม - กิแก้ว ไซคำพิทูน นักการเมืองชาวลาว
- 15 สิงหาคม - ถัน ตุ้น นักแต่งเพลงชาวจีน
- 19 สิงหาคม
- มาร์ติน โดโนแวน นักแสดงชาวอเมริกัน
- 21 สิงหาคม - จอห์น ฮาว ศิลปินชาวแคนาดา
- 22 สิงหาคม - สตีฟ เดวิส นักสนุกเกอร์ชาวอังกฤษ
- 26 สิงหาคม
- เคอิจิ นัมบะ นักพากย์ชาวญี่ปุ่น
- ดร. อัลบัน นักดนตรีชาวสวีเดน
- 27 สิงหาคม
- เบิร์นฮาร์ด ลังเกอร์ นักกอล์ฟชาวเยอรมัน
- เค็นจิ นางาอิ นักข่าวชาวญี่ปุ่น (ถึงแก่กรรม 27 กันยายน พ.ศ. 2550)
- 28 สิงหาคม - ไอ้ เว่ยเว่ย สถาปนิกชาวจีน
- 29 สิงหาคม
- ชิโร ซะงิซุ นักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น
กันยายน
[แก้]- 1 กันยายน - กลอเรีย เอสตาฟาน นักร้องหญิงชาวคิวบา
- 6 กันยายน - ฌูแซ ซอกราตึช นักการเมืองชาวโปรตุเกส
- 9 กันยายน
- เจิ้งอวี้หลิง นักแสดงชาวฮ่องกง
- 12 กันยายน
- โรดวอริเออร์ฮอว์ก นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 19 ตุลาคม พ.ศ. 2546)
- ฮันส์ ซิมเมอร์ นักแต่งเพลงชาวเยอรมัน
- 13 กันยายน
- บองบอง มาร์กอส นักการเมืองชาวฟิลิปปินส์
- วินนี แอพไพซ์ ชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลี
- ฮวาง ชอลซุน นักมวยสากลสมัครเล่นชาวเกาหลีใต้
- 15 กันยายน - แบรด เบิร์ด ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- 21 กันยายน
- เควิน รัดด์ นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย
- เจ้าชายฟรันซ์-โจเซฟแห่งบาวาเรีย
- 27 กันยายน - บรันโก สมิลยานิช นักฟุตบอลชาวเซอร์เบีย
- 29 กันยายน - เลส ซีลีย์ ผู้รักษาประตูฟุตบอล (ถึงแก่กรรม 19 สิงหาคม พ.ศ. 2544)
ตุลาคม
[แก้]- 2 ตุลาคม - เจ้า เปิ่นชาน นักแสดงจีน
- 3 ตุลาคม - คว็อน คับ-ยง นักหมากล้อมชาวเกาหลีใต้
- 5 ตุลาคม
- เบอร์นี แมค นักแสดงและนักแสดงตลกชาวอเมริกิน (ถึงแก่กรรม 9 สิงหาคม พ.ศ. 2551)
- 6 ตุลาคม - บรูซ โครบเบอลาร์ นักฟุตบอลชาวซิมบับเว
- 10 ตุลาคม
- รูมิโกะ ทากาฮาชิ นักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น
- 11 ตุลาคม
- 17 ตุลาคม
- สตีฟ แม็กไมเคิล นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 23 ตุลาคม - พอล คากาเม ประธานาธิบดีรวันดา
- 29 ตุลาคม - เจ้าหญิงโซเฟียแห่งโรมาเนีย
พฤศจิกายน
[แก้]- 2 พฤศจิกายน -
- ลูว์เซียง ฟาฟวร์ นักฟุตบอลชาวสวิส
- 4 พฤศจิกายน
- โทนี แอบบ็อตต์ นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย
- 7 พฤศจิกายน - คิงคองบันดี นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 12 พฤศจิกายน - เซซิลียา ซิกาเนร์-อัลเบนิซ สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งฝรั่งเศส
- 19 พฤศจิกายน - โอฟรา ฮาซา นักร้องอิสราเอล (ถึงแก่กรรม 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543)
- 20 พฤศจิกายน - กู๊ดลัก โจนาธาน นักการเมืองชาวไนจีเรีย
- 21 พฤศจิกายน - จอร์จ อเล็กซานดรูว นักแสดงภาพยนตร์และละครชาวโรมาเนีย (ถึงแก่กรรม 1 มกราคม พ.ศ. 2559)
ธันวาคม
[แก้]- 9 ธันวาคม - ดอนนี ออสมอนด์ นักร้อง นักแสดง พิธีกร
- 10 ธันวาคม - ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน นักแสดงอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 3 กันยายน พ.ศ. 2555)
- 13 ธันวาคม - สตีฟ บูเซมี นักแสดงอเมริกัน
- 21 ธันวาคม - เรย์ โรมาโน่ นักแสดงอเมริกัน
- 22 ธันวาคม - ไช่ ฉิน นักร้องหญิงชาวไต้หวัน
- 24 ธันวาคม - ฮามิด การ์ไซ ประธานาธิบดีอัฟกานิสถานคนที่ 12
- 25 ธันวาคม - วัฒนา สิทธิวัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 1 สมัย
- 29 ธันวาคม - คะซุกิ ยะโนะ ชาวญี่ปุ่นเชื้อสายเกาหลี
ไม่ทราบวัน
[แก้]- มอริส ก็อตลา นักมีนวิทยาชาวสวิส
- โซลตัน ชปีรันเดิลลี นักแสดง/ผู้กำกับภาพยนตร์
- โทมัส เฟลมันน์ นักดนตรีชาวสวิส
- มูลาตู เตโชเม นักการเมืองชาวเอธิโอเปีย
- มอริส ก็อตลา นักมีนวิทยาชาวสวิส
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 23 มกราคม - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (ประสูติ 10 มีนาคม พ.ศ. 2435)
- 8 กุมภาพันธ์ - จอห์น ฟอน นอยมันน์ นักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี (เกิด 28 ธันวาคม พ.ศ. 2446)
- 17 มีนาคม - รามอน แมกไซไซ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนที่ 3 (เกิด 31 สิงหาคม พ.ศ. 2450)
- 18 มิถุนายน - หม่อมเจ้าดิลกฤทธิ์ กฤดากร (ประสูติ 18 กันยายน พ.ศ. 2451)
- 24 ตุลาคม - คริสเตียน ดิออร์ นักออกแบบเสื้อผ้าชาวฝรั่งเศส (เกิด 21 มกราคม พ.ศ. 2447)
รางวัล
[แก้]- สาขาเคมี – Alexander R. Todd, Baron Todd
- สาขาวรรณกรรม – อัลแบร์ กามู
- สาขาสันติภาพ – เลสเตอร์ โบวส์ เพียร์สัน
- สาขาฟิสิกส์ – Chen Ning Yang, Tsung-Dao Lee
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – ดาเนียล โบเวท
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ พ.ศ. 2500