(Translated by https://www.hiragana.jp/)
ยูเอสเอส แลงลีย์ (CV-1) - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

ยูเอสเอส แลงลีย์ (CV-1)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
USS Langley underway, 1927
ประวัติ
สหรัฐ
ชื่อ
  • จูปิเตอร์ (1912–1920)
  • แลงลีย์ (1920–1942)
ตั้งชื่อตาม
อู่เรืออู่ต่อเรือมาเรไอส์แลนด์
มูลค่าสร้าง
  • $1,326,111.36 (จูปิเตอร์ฮัลล์ แอนด์ แมชชีนเนอรี)
  • $395,992.80 (การซ่อมแซม ต่อเติม และดัดแปลงถึง 30 มิถุนายน 1919)[1]
ปล่อยเรือ18 ตุลาคม 1911
เดินเรือแรก14 สิงหาคม 1912
เข้าประจำการ7 เมษายน 1913
ปลดระวาง24 มีนาคม 1920
นำกลับมาประจำการใหม่20 มีนาคม 1922
ปลดระวาง25 ตุลาคม 1936
นำกลับมาประจำการใหม่21 เมษายน 1937
เปลี่ยนชื่อใหม่แลงลีย์, 21 เมษายน 1920
เปลี่ยนระดับ
  • เรือบรรทุกสินค้า, 7 กรกฎาคม 1920
  • เรือบรรทุกเครื่องบินทะเล, 21 เมษายน 1937
Stricken8 พฤษภาคม 1942
รหัสระบุ
  • Hull symbol: Navy Fleet Collier No. 3
  • Hull symbol: CV-1
  • Hull symbol: AV-3
ชื่อเล่น"Covered Wagon"
เกียรติยศ
  • ในฐานะ จูปิเตอร์:
    • เหรียญรัฐการเม็กซิโก
    • เหรียญชัย กรณีสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (เข็ม"ขนส่ง")
  • ในฐานะ แลงลีย์:
    • เหรียญรัฐการป้องกันอเมริกา (เข็ม"กองเรือ")
    • เหรียญการณรงค์เอเชีย-แปซิฟิก
    • เหรียญชัย กรณีสงครามโลกครั้งที่สอง
ความเป็นไปจมหลังจากการโจมตีทางอากาศของญี่ปุ่นนอกชายฝั่งชวา 27 กุมภาพันธ์ 1942
สัญลักษณ์
ภาพรวมชั้น
ชื่อ: เรือบรรทุกอากาศยานชั้นแลงลีย์
ผู้ใช้งาน: Naval flag of สหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐ
ก่อนหน้าโดย: N/A
ตามหลังโดย: ชั้นเลกซิงตัน
สร้างเมื่อ:
  • 1920 (converted to an aircraft carrier)
  • 1936 (converted to a seaplane tender)
ในประจำการ:
  • 1913-1920 (as a collier)
  • 1922–1936 (as an aircraft carrier)
  • 1937–1942 (as a Seaplane tender)
วางแผน: 2
เสร็จแล้ว: 1
สูญเสีย: 1
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น:
ขนาด (ระวางขับน้ำ):
  • 19,360 long ton (19,670 t) (as Jupiter)
  • 12,700 long ton (12,900 t) (standard, as Langley)[2]
  • 13,900 long ton (14,100 t) (full load, as Langley)[2]
  • ความยาว: 542 ft (165.2 m)[2]
    ความกว้าง: 65 ft 5 in (19.9 m)[2]
    กินน้ำลึก:
    • 27 ft 8 in (8.4 m) (as Jupiter)
    • 24 ft (7.3 m) (as Langley)[2]
    ระบบพลังงาน:
  • 3 × boilers
  • 7,200 shp (5,400 kW)[2]
  • ระบบขับเคลื่อน:
  • General Electric turbo-electric transmission
  • 2 × shafts
  • ความเร็ว: 15.5 นอต (28.7 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 17.8 ไมล์ต่อชั่วโมง)
    พิสัยเชื้อเพลิง: 3,500 nmi (4,000 mi; 6,500 km) at 10 kn (12 mph; 19 km/h)[2]
    อัตราเต็มที่:
    • 163 officers and men (as Jupiter)
    • 468 officers and men (as Langley)
    ยุทโธปกรณ์:
  • 4 × 4 in (102 mm)/50 cal guns (as Jupiter)
  • 4 × 5 in (127 mm)/51 cal guns (as Langley)
  • อากาศยาน:
  • None (as Jupiter)
  • 36 (as Langley)[2]
  • อุปกรณ์สนับสนุนการบิน:
  • 1 × elevator
  • 1 × catapult
  • ยูเอสเอส แลงลีย์ (CV-1)
    เรือบรรทุกสินค้า ยูเอสเอส จูปิเตอร์ (AV-3)
    ดัดแปลงเป็น เรือบรรทุกเครื่องบินทะเล

    ยูเอสเอส แลงลีย์ (อังกฤษ: USS Langley) มีรหัสว่า CV-1 ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น AV-3 เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินลำแรกของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ตั้งชื่อตามชื่อของแซมมวล เพียร์พอนด์ แลงลีย์ นักดาราศาสตร์และนักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน

    เดิมเรือลำนี้เป็นเรือบรรทุกสินค้า ชื่อ ยูเอสเอส จูปิเตอร์ (AV-3) ได้รับการดัดแปลงเป็นเรือบรรทุกเครื่องบินในปี ค.ศ. 1920 และได้รับการดัดแปลงอีกครั้งในปี ค.ศ. 1936 เพื่อใช้บรรทุกเครื่องบินทะเล พร้อมกับเปลี่ยนรหัสเป็น AV-3 ออกปฏิบัติการในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิกในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

    ยูเอสเอส แลงลีย์ (AV-3) ถูกโจมตีโดยเครื่องบินทิ้งระเบิดของกองทัพญี่ปุ่น บริเวณเกาะชวา เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1942 จนเสียหายอย่างหนัก และอัปปางลงด้วยตอร์ปิโดของเรือประจัญบานฝ่ายเดียวกัน เพื่อป้องกันไม่ให้ทหารญี่ปุ่นเข้ายึดเรือ [3]

    อ้างอิง

    [แก้]
    1. "Table 21 – Ships on Navy List June 30, 1919". Congressional Serial Set. U.S. Government Printing Office: 766. 1921.
    2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 Ford et al. 2001, p. 330
    3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-06. สืบค้นเมื่อ 2010-03-01.