(Translated by https://www.hiragana.jp/)
ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาคาเร อินิ" - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาคาเร อินิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
 
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
กาคาเร อินิเป็นผู้ปกครองที่ปรากฏหลักฐานยืนยันที่ดีในกลุ่มผู้ปกครองนิวเบียที่อยู่ร่วมกัน รวมทั้ง[[เซเกอเซนิ|เซเกอร์เซนิ]]และ[[ไอย์อิบเคนต์เร]]<ref>Robert G. Morkot, ''The Black Pharaohs. Egypt's Nubian Rulers''. Rubicon Press, London 2000, {{ISBN|0-948695-24-2}}, pp.&nbsp;54–55.</ref> แต่ที่จริงแล้วพระอิสริยยศของฟาโรห์ทั้งหมดของพระองค์เป็นที่ทราบจากศิลาจารึกจำนวน 16 ชิ้นที่พบในอุมบารากับ, มุเดเนจาร์, กุธนิส, ทัยฟา, [[อาบู ซิมเบล]] และ[[ทอชกา]] ซึ่งทั้งหมดอยู่ใน[[นิวเบียล่าง]]<ref name="encyclo">Darrell D. Baker: ''The Encyclopedia of the Pharaohs: Volume I - Predynastic to the Twentieth Dynasty 3300–1069 BC'', Stacey International, {{ISBN|978-1-905299-37-9}}, 2008, p. 140&#x2013;141</ref><ref name=":0">Günther Roeder, ''Debod bis Bab Kalabsche, II'', Institut Français d'Archaeologie Orientale, Cairo 1911, pls.&nbsp;118-121, [[iarchive:debodbisbabkalab02roeduoft|available online here]]</ref> จารึกเหล่านี้ได้บันทึกตำแหน่งของกาคาเร อินิ บางครั้งเป็นเพียงพระนามคาร์ทูชและไม่ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติม ในกรณีของจารึกจากทอชกา พระนามของกาคาเร อินิถูกจารึกไว้ถัดจากไอย์อิบเคนต์เร อย่างไรก็ตาม ดาร์เรล เบเกอร์ นักไอยคุปต์วิทยาได้เสนอว่าเป็นเพราะไม่มีที่ว่างบนหินมากกว่าที่จะชี้ไปที่ความเชื่อมโยงระหว่างผู้ปกครองทั้งสอง<ref name=":0" /> ดังนั้น จึงยังไม่ทราบเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกาคาเร อินิและผู้ปกครองชาวนิวเบียอีกสองพระองค์ในช่วงเวลานั้น คือ เซเกอร์เซนิ และไอย์อิบเคนต์เร
กาคาเร อินิเป็นผู้ปกครองที่ปรากฏหลักฐานยืนยันที่ดีในกลุ่มผู้ปกครองนิวเบียที่อยู่ร่วมกัน รวมทั้ง[[เซเกอเซนิ|เซเกอร์เซนิ]]และ[[ไอย์อิบเคนต์เร]]<ref>Robert G. Morkot, ''The Black Pharaohs. Egypt's Nubian Rulers''. Rubicon Press, London 2000, {{ISBN|0-948695-24-2}}, pp.&nbsp;54–55.</ref> แต่ที่จริงแล้วพระอิสริยยศของฟาโรห์ทั้งหมดของพระองค์เป็นที่ทราบจากศิลาจารึกจำนวน 16 ชิ้นที่พบในอุมบารากับ, มุเดเนจาร์, กุธนิส, ทัยฟา, [[อาบู ซิมเบล]] และ[[ทอชกา]] ซึ่งทั้งหมดอยู่ใน[[นิวเบียล่าง]]<ref name="encyclo">Darrell D. Baker: ''The Encyclopedia of the Pharaohs: Volume I - Predynastic to the Twentieth Dynasty 3300–1069 BC'', Stacey International, {{ISBN|978-1-905299-37-9}}, 2008, p. 140&#x2013;141</ref><ref name=":0">Günther Roeder, ''Debod bis Bab Kalabsche, II'', Institut Français d'Archaeologie Orientale, Cairo 1911, pls.&nbsp;118-121, [[iarchive:debodbisbabkalab02roeduoft|available online here]]</ref> จารึกเหล่านี้ได้บันทึกตำแหน่งของกาคาเร อินิ บางครั้งเป็นเพียงพระนามคาร์ทูชและไม่ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติม ในกรณีของจารึกจากทอชกา พระนามของกาคาเร อินิถูกจารึกไว้ถัดจากไอย์อิบเคนต์เร อย่างไรก็ตาม ดาร์เรล เบเกอร์ นักไอยคุปต์วิทยาได้เสนอว่าเป็นเพราะไม่มีที่ว่างบนหินมากกว่าที่จะชี้ไปที่ความเชื่อมโยงระหว่างผู้ปกครองทั้งสอง<ref name=":0" /> ดังนั้น จึงยังไม่ทราบเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกาคาเร อินิและผู้ปกครองชาวนิวเบียอีกสองพระองค์ในช่วงเวลานั้น คือ เซเกอร์เซนิ และไอย์อิบเคนต์เร


ไม่ปรากฏพระนามในบันทึกพระนามของอียิปต์โบราณใด ๆ เลย<ref name=":0" />
ไม่ปรากฏพระนามในบันทึกพระนามของอียิปต์โบราณใด ๆ เลย<ref name=":0" />


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:04, 11 มิถุนายน 2566

กาคาเร อินิ (หรือ อินเทฟ) เป็นผู้ปกครองชาวอียิปต์โบราณหรือชาวนิวเบียโบราณ ซึ่งน่าจะทรงขึ้นครองราชย์ในช่วงปลายศตวรรษที่ 11 ก่อนคริสตกาล และช่วงต้นราชวงศ์ที่สิบสองเหนือบริเวณนิวเบียล่าง แม้ว่าพระองค์จะทรงเป็นผู้ปกครองนิวเบียที่ปรากฏหลักฐานยืนยันที่ดีที่สุดในช่วงเวลาดังกล่าว แต่กลับไม่ทราบกิจกรรมใดที่เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระองค์

หลักฐานยืนยัน

[แก้]

กาคาเร อินิเป็นผู้ปกครองที่ปรากฏหลักฐานยืนยันที่ดีในกลุ่มผู้ปกครองนิวเบียที่อยู่ร่วมกัน รวมทั้งเซเกอร์เซนิและไอย์อิบเคนต์เร[2] แต่ที่จริงแล้วพระอิสริยยศของฟาโรห์ทั้งหมดของพระองค์เป็นที่ทราบจากศิลาจารึกจำนวน 16 ชิ้นที่พบในอุมบารากับ, มุเดเนจาร์, กุธนิส, ทัยฟา, อาบู ซิมเบล และทอชกา ซึ่งทั้งหมดอยู่ในนิวเบียล่าง[3][4] จารึกเหล่านี้ได้บันทึกตำแหน่งของกาคาเร อินิ บางครั้งเป็นเพียงพระนามคาร์ทูชและไม่ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติม ในกรณีของจารึกจากทอชกา พระนามของกาคาเร อินิถูกจารึกไว้ถัดจากไอย์อิบเคนต์เร อย่างไรก็ตาม ดาร์เรล เบเกอร์ นักไอยคุปต์วิทยาได้เสนอว่าเป็นเพราะไม่มีที่ว่างบนหินมากกว่าที่จะชี้ไปที่ความเชื่อมโยงระหว่างผู้ปกครองทั้งสอง[4] ดังนั้น จึงยังไม่ทราบเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกาคาเร อินิและผู้ปกครองชาวนิวเบียอีกสองพระองค์ในช่วงเวลานั้น คือ เซเกอร์เซนิ และไอย์อิบเคนต์เร

ไม่ปรากฏพระนามในบันทึกพระนามของอียิปต์โบราณใด ๆ เลย[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Jürgen von Beckerath, Handbuch der ägyptischen Königsnamen (= Münchner ägyptologische Studien, vol 46), Mainz am Rhein: Verlag Philipp von Zabern, 1999. ISBN 3-8053-2310-7, pp. 80-81.
  2. Robert G. Morkot, The Black Pharaohs. Egypt's Nubian Rulers. Rubicon Press, London 2000, ISBN 0-948695-24-2, pp. 54–55.
  3. Darrell D. Baker: The Encyclopedia of the Pharaohs: Volume I - Predynastic to the Twentieth Dynasty 3300–1069 BC, Stacey International, ISBN 978-1-905299-37-9, 2008, p. 140–141
  4. 4.0 4.1 4.2 Günther Roeder, Debod bis Bab Kalabsche, II, Institut Français d'Archaeologie Orientale, Cairo 1911, pls. 118-121, available online here