บีตา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บีตา
อักษรกรีก
Αあるふぁαあるふぁ แอลฟา Νにゅーνにゅー นิว
Βべーたβべーた บีตา Ξくしーξくしー ไซ
Γがんまγがんま แกมมา Οおみくろんοおみくろん โอไมครอน
Δでるたδでるた เดลตา Πぱいπぱい พาย
Εいぷしろんεいぷしろん เอปไซลอน Ρろーρろー โร
Ζぜーたζぜーた ซีตา Σσς ซิกมา
Ηいーたηいーた อีตา Τたうτたう เทา
Θしーたθしーた ทีตา Υうぷしろんυうぷしろん อิปไซลอน
Ιいおた ιいおたไอโอตา Φふぁいφふぁい ฟาย
Κかっぱκかっぱ แคปปา Χかいχかい ไค
Λらむだλらむだ แลมดา Ψぷさいψぷさい พไซ
Μみゅーμみゅー มิว Ωおめがωおめが โอเมกา
ใกล้คลาสสิก
Ϝϝ เวา ϘϙϞϟ คอปปา
Ϻϻ แซน ͲͲϠϡ แซมไพ
Ϛϛ สติกมา Ͱͱ ฮีตา
Ϸϸ โช

เครื่องหมายเสริมอักษร

บีตา หรือ เบตา[1][nb 1] (อังกฤษ: beta บริติช /ˈbtə/ อเมริกัน /ˈbtə/, กรีก: βήτα, ตัวใหญ่ Βべーた, ตัวเล็ก βべーた หรือ ตัวเขียน ϐ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 2 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 2 ในภาษากรีกโบราณ บีตาแทนเสียงหยุด ริมฝีปาก ก้อง /b/ และในภาษากรีกสมัยใหม่แทนเสียงเสียดแทรก ริมฝีปาก-ฟัน ก้อง /v/ อีกทั้งบีตายังเป็นรากในการกำเนิดอักษรอื่นด้วย เช่น อักษรโรมันB⟩ และอักษรซีริลลิกБ⟩ และ ⟨В

เชิงอรรถ[แก้]

  1. ในรายการศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสภาปรากฏการทับศัพท์คำว่า beta ไว้ 2 แบบ คือ หมวดศัพท์วิทยาศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2546) ใช้ว่า "บีตา" และหมวดศัพท์เทคโนโลยีทางภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556) ใช้ว่า "เบตา" ซึ่งถือว่าถูกต้องทั้งสองแบบ โดยอาจสามารถอนุมานสรุปได้ว่าในอดีตเป็นการทับศัพท์จากสำเนียงบริติช และต่อมาใช้การทับศัพท์จากสำเนียงอเมริกันตามสมัยนิยมซึ่งเห็นได้จากการที่คนส่วนใหญ่อ่านออกเสียงคำดังกล่าวว่า เบ-ต้า อีกทั้ง สวทช. ยังใช้ว่า "รังสีเบตา" อีกด้วย[2]

อ้างอิง[แก้]