(Translated by https://www.hiragana.jp/)
กวี สิงหะ - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

กวี สิงหะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กวี สิงหะ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 – 19 ธันวาคม พ.ศ. 2524
ดำรงตำแหน่งร่วมกับ
นายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่าการพลเอก เปรม ติณสูลานนท์
ก่อนหน้า
ถัดไปพลเรือเอก สมุทร์ สหนาวิน
สมาชิกวุฒิสภา
ดำรงตำแหน่ง
4 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ดำรงตำแหน่ง
16 ธันวาคม พ.ศ. 2515 – 16 ธันวาคม พ.ศ. 2516
ผู้บัญชาการทหารเรือ
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2521 – 30 กันยายน พ.ศ. 2523
ก่อนหน้าพลเรือเอก อมร ศิริกายะ
ถัดไปพลเรือเอก สมุทร์ สหนาวิน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด18 มิถุนายน พ.ศ. 2463
เสียชีวิต25 มกราคม พ.ศ. 2531 (67 ปี)
คู่สมรสกมลนารี กมลนาวิน
บุตร5 คน
บุพการี
  • พระฉันทพาทไพเราะ (จำรัส สิงหะ) (บิดา)
  • นางจรุงผิว ฉันทพาทไพเราะ (จรุงผิว สิงหะ) (มารดา)
ศิษย์เก่าโรงเรียนนายเรือ
โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ
โรงเรียนเสนาธิการผสม
วิทยาลัยการทัพเรือ
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัดNaval flag of ไทย กองทัพเรือไทย
ประจำการพ.ศ. 2484 - 2523
ยศ พลเรือเอก
ผ่านศึก

พลเรือเอก กวี สิงหะ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารเรือไทย

พล.ร.อ.กวี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนทวีธาภิเศก และเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2531 มีพิธีพระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2531 ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร

การทำงาน

[แก้]

พล.ร.อ.กวี สิงหะ รับราชการในสังกัดกองทัพเรือไทย จนได้รับตำแหน่งสูงสุดเป็นผู้บัญชาการทหารเรือ ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2521 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2523[1][2] ต่อจากพลเรือเอกอมร ศิริกายะ ก่อนจะเกษียณอายุราชการ พล.ร.อ.กวี ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์[3] และรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ในปี พ.ศ. 2523[4]

ในปี พ.ศ. 2511 พล.ร.อ.กวี ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 3[5] และในปี พ.ศ. 2515 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

[แก้]

เครื่องอิสริยาภรณ์สากล

[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ผู้บัญชาการทหารเรือ[ลิงก์เสีย]
  2. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
  3. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-09-23. สืบค้นเมื่อ 2019-10-29.
  4. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๗ ราย)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-10-25. สืบค้นเมื่อ 2015-10-08.
  5. "รายชื่อสมาชิกวุฒิสภาชุดที่ ๓" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-10-08.
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๑๔๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๑๗ สิงหาคม ๒๕๑๗
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๗, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๑
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๓ ตอนที่ ๘๐ ง หน้า ๑๓๕๒, ๑ มิถุนายน ๒๕๑๙
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ และเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับผู้กระทำความชอบมีบาดเจ็บหนึ่งครั้ง, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๗๑๐, ๓๐ สิงหาคม ๒๔๘๔
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๘๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗๐๑, ๘ กันยายน ๒๕๐๕
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๔๑ ง หน้า ๑๙๖๗, ๑ กรกฎาคม ๒๕๐๕
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๗ ตอนที่ ๑๑๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔, ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๒๓
  13. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๘๐ ตอนที่ ๙๕ ง หน้า ๒๒๐๘, ๒๔ กันยายน ๒๕๐๖
  14. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเหรียญปฏิบัติงานสหประชาชาติ, ตอนที่ 51 เล่ม 69 หน้า 2651, 19 สิงหาคม 2495
  15. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม 71 ตอนที่ 40 หน้า 1497, 29 มิถุนายน 2497